สุนทรียศาสตร์

Aesthetics

 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย ความสำคัญ และคุณค่าของสุนทรียะ ประเภทต่างๆ ของงานศิลปะ ทางด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม การออกแบบ ดนตรี วรรณกรรม นาฏลักษณ์ รวมทั้งศิลปะพื้นบ้าน แนวคิดของการแสดงออกของความรู้สึกทางสุนทรียะ การสร้างสรรค์และประเมินค่าความงาม ของสุนทรียศาสตร์ตะวันออก และตะวันตก
เพื่อพัฒนากระบวนการให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความงาม และสุนทรียะ ประเภทของงานศิลปะ ในแขนงต่างๆ ทั้งที่เป็นสากล และที่เป็นศิลปะพื้นบ้านของท้องถิ่น สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ผลงานทางด้านศิลปะด้วยมุมมองทางสุนทรียะ
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
บรรยาย มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
บรรยาย มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
บรรยาย มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นำเสนอข้อมูล
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1), 1(2) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ในระบบ Online ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 1-16 10
2 2(1), 2(2), 2(3) ผลงานรายบุคคล / ผลงานกลุ่ม (แบบฝึกหัด / เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 2-16 40
3 3(2), 3(3) การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 8,17 40
5 5(1) การนำเสนอ (วาจาและสื่อ) 2-16 10
กำจร สุนพงษ์ศรี. สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพ . 2555. กำจร สุนพงษ์ศรี. ประวัติศาสตร์สิลปะตะวันตก. กรุงเทพ. 2551. วนิดา ขำเขียว. สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพฯ. 2543. วิรุณ ตั้งเจริญ. ประวัติศาสตร์ศิลป์และการออกแบบ. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์สันติศิริ. 2544. วิรุณ ตั้งเจริญ. สุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์สันติศิริ. 2546. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. ศิลปะชาวบ้าน. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์. 2546. ปัญญา เทพสิงห์. ศิลปะเอเชีย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548. ธีรยุทธ บุญมี. ถอดรื้อปรัชญาศิลปะแบบตะวันตกเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : สานธาร. 2546. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. ศิลปะชาวบ้าน. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์. 2546. ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ . กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานิช. 2531. สุชาติ เถาทอง. ศิลปะวิจารณ์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2537. สมชาย พรหมสุวรรณ. หลักการทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548