ปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ

Ornamental Fish and Aquatic Plants

เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับชนิดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ การคัดเลือกและเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ อาหารปลาสวยงาม โรคปลาสวยงามและวิธีการรักษาป้องกัน แนวทางการส่งออกนำเข้าปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกิดทักษะต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ 
เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจในวิชาปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ
เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่มีการเปลี่ยนแปลง  ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพันธุ์ไม้น้ำให้เกิดความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับชนิดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ การคัดเลือกและเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ อาหารปลาสวยงาม โรคปลาสวยงามและวิธีการรักษาป้องกัน แนวทางการส่งออกนำเข้าปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ
ทุกวันพุธ เวลา14.00-15.00 น.
-พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  โดยข้อ 3 และข้อ 4 เป็นความรับผิดชอบหลัก
-บรรยายพร้อมกับฝึกปฏิบัติในด้านการเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำให้เกิดความชำนาญรวมถึงหาช่องทางจัดจำหน่ายทั้งในและต่างประเทศ
-อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยข้อที่ 2.1.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
-บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา
-มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 -   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  -   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนานักศึกษาให้สามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษาแล้ว ดังนั้นนักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาสัตวศาสตร์และประมง(ประมง) ในขณะที่สอนนักศึกษา อาจารย์เน้นให้นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำ นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่างๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้ 1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบโดยข้อ 2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน 2 อภิปรายกลุ่ม 3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการปฏิบัติจริงที่มีปัญหาเกิดขึ้น 4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
 
 
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบให้ครบถ้วนทั้งทางด้านความรู้และความจำ 2. วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน 3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
-นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งส่วนใหญ่ต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลที่ไม่รู้จักมาก่อน บุคคลที่มาจากสถาบันอื่นๆ และบุคคลที่จะมาเป็นผู้บังคับบัญชา หรือบุคคลที่จะมาอยู่ใต้บังคับบัญชา ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่างๆ เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นอาจารย์ต้องสอดแทรกวิธีการที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติต่างๆ ต่อไปนี้ให้นักศึกษาระหว่างที่สอนวิชา หรืออาจให้นักศึกษาไปเรียนวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติต่างๆ นี้ 1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม โดยข้อ 2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
 
1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเทคนิคใหม่ๆในการเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา 3 การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ  โดยข้อ  1. เป็นความรับผิดชอบหลัก
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
1.  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2.  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1.  มีทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม 2.  มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ โดยข้อ 2. เป็นความรับผิดชอบหลัก
 
    ให้นักศึกษาค้นคว้าวิธีการใช้เครื่องมืออย่างถูกต้องพร้อมอธิบายเพิ่มเติมก่อนนำเครื่องมือมาใช้ทุกครั้ง
ทดสอบการเลือกใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4, 2.6,3.2 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 50%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4, 2.6, 3.2,4.1 ,4.6,5.3,5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1, 1.7,3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
นลินทิพย์ ภัคศรีกุลกําธร. (2559). ธุรกิจค้าปลาสวยงาม : ตลาดในประเทศเติบโตดีส่งออกยัง แข่งขันรุนแรง. (ออนไลน์). 
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
-การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน -ผลการเรียนของนักศึกษา -การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน -การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร -มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 -เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ