การจัดการฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

Farm Management for Aquaculture

1. เข้าใจการจัดทำโครงการธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และระบบการตลาดเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
2. เข้าใจหลักการวิเคราะห์ธุรกิจฟาร์ม การจัดทำบัญชีฟาร์มสัตว์น้ำ
3. เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติและลักษณะนิสัยที่ดีในการจัดการธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
4.มีความรับผิดชอบ  และมีคุณธรรมจริยธรรม
1. เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้ครบทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและมีความรับผิดชอบ
2.มีทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยผ่านทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ฝึกค้นหาข้อมูลและวิทยาการใหม่ๆ จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง และนำมาแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยการเสวนา 
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการธุรกิจฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การจัดการธุรกิจ การบันทึกกิจการ การจัดทำบัญชีฟาร์ม การวัดผลสำเร็จและการวิเคราะห์ธุรกิจฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ทุกวันอังาร เวลา13.00-14.00น.
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมระหว่างการสอน เช่น ความซื่อสัตย์ การไม่คัดลอกผลงาน เป็นต้น
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การปฏิบัติการการทดลอง การบันทึกผลและรายงานผลการทดลอง การแต่งกายและตรงต่อเวลา
- มอบหมายงานกลุ่ม
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- ประเมินความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
- ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
- เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- มอบหมายให้ศึกษาบทเรียนและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- บรรยายเนื้อหาโดยใช้สื่อประกอบ และยกตัวอย่างกรณีศึกษา
- แบ่งกลุ่มนักศึกษา และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง โดยไปหาข้อมูลจากสถานประกอบการที่สนใจ
- ยกตัวอย่างสถานการณ์ในปัจจุบัน
- ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
- มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- ระดมสมองในการแก้ไขปัญหาต่างๆอย่างเป็นระบบ
- ทำการจัดเก็บข้อมูลให้ถูกต้องอย่างเป็นระบบ
- ทำการวิเคราะห์ข้อมูล/คำนวณ (ถ้ามี )
- ประเมินผลจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบ และสังเกตพฤติกรรม
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
- การเรียนแบบร่วมมือ ร่วมคิด
-จัดกิจกรรมกลุ่มย่อย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
-นำเสนอ การรายงานหน้าชั้นเรียน
- ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเฉพาะบุคคล/เป็นกลุ่ม
- ความรับผิดอบงานที่ได้รับมอบหมาย
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
- การบรรยายจากวิทยากร
- การสาธิตลงมือปฏิบัติ
- กำหนดโจทย์ให้สืบค้นโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินจากการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข/จัดเก็บข้อมูลการทดลองอย่างเป็นระบบ
- ประเมินจากใบงาน และความเข้าใจในขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 2.1, 2.2, 3.1, 5.2 แบบทดสอบ ตลอดภาคการศึกษา 50%
2 2.2, 3.2, 3.3, 4.1, 5.1 งานมอบหมาย, รายงาน ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1, 3.2, 4.1, 4.2 จิตพิสัย (พฤติกรรมในการเรียน) ตลอดภาคการศึกษา 10%
สะเทื้อน ปิ่นน้อย. 2547. หลักการจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะประมง ภาควิชาการจัดการประมง, กรุงเทพฯ. อุธร  ฤทธิลึก. 2548. การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ. ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 176 น.
     1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน      1.2  การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน      1.3  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
     2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน  การตอบสนอง  การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน      2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา      2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 - อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
 มีการ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   ปรับปรุงสื่อการสอนให้ทันกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย