การประลองทางวิศวกรรมเครื่องกลสำหรับวิศวกรรมอุตสาหการ

Production Engineering Workshop for Industrial Engineering

ฝึกปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลของวัสดุ เช่น การสมดุล การสั่นสะเทือนทางกล การบิด ความแข็งและความล้า เกี่ยวกับของไหลและความร้อน เช่น การไหลของของไหล การสูญเสียเนื่องจากการไหล การนาความร้อน การพาความร้อน การหาค่าความร้อนเชื้อเพลิง
ไม่มี
ฝึกปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลของวัสดุ เช่น การสมดุล การสั่นสะเทือนทางกล การบิด ความแข็งและความล้า เกี่ยวกับของไหลและความร้อน เช่น การไหลของของไหล การสูญเสียเนื่องจากการไหล การนาความร้อน การพาความร้อน การหาค่าความร้อนเชื้อเพลิง
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ 15 ชั่วโมง/ภาคเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
คู่มือปฏิบัติการประลองทางวิศวกรรมเครื่องกล 1 และ2, สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
ไม่มี
เว็ปไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประลองทางวิศวกรรมเครื่องกล และวารสารต่างๆ เช่น Journal of Solid Mechanics, International Journal of Thermal Science และ International Journal of Heat and Fluid Flow
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาและการใช้สื่อการสอน
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในด้านทักษะกลยุทธ์การสอน และการใช้สื่อการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน ประกอบกับการสังเกตและหาวิธีที่จะปรับปรุงการสอนให้ดี
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้  5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ