การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์

Computer–Electrical Drawing

         เพื่อปฏิบัติการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการเขียนสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า ชุดคำสั่งในการเขียนแบบ  ชุดคำสั่งในการแก้ไขภาพ  การเขียนเส้นบอกขนาด  การเขียนแบบระบบไฟฟ้า  และการพิมพ์แบบแปลน
    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านวิศวกรรมไฟฟ้าที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
 ปฏิบัติการเกี่ยวกับการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรม Visio และ โปรแกรม Auto CAD  โดยการเขียนสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า  ชุดค าสั่งในการ เขียนแบบ  ชุดค าสั่งในการแก้ไขภาพ  การเขียนเส้นบอกขนาด  การเขียนแบบ ระบบไฟฟ้า  และการพิมพ์แบบแปลน 
3
1.1 คุณธรรม จริยธรรมทีต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล นําเอาความรู้ความสามารถทีศึกษาไปใช้ประโยชน์สูงสุด โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติ หลักสูตร  ดังนี   ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซือสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความ รับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเปนผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเปนทีมและสามารถ แก้ไขข้อขัดแย้งและลําดับความสําคัญ เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นผู้อืน  รวมทังเคารพใน คุณค่าและศักดิศรีของความเปนมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม    1.1.6 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 วิธีการสอน บรรยายพร้อมและปฏิบัติงานตามกลุ่มใบประลอง  กําหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างทีเกียวข้อง อภิปรายกลุ่ม การนําเสนอ เน้นสอนเปนกลุ่มกิจกรรม
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานทีได้รับมอบหมายตามขอบเขตทีให้และตรงเวลา  
1 .3.2   มีการอ้างอิงเอกสารทีได้นํามาทํารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม  
1 .3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา  
1 .3.4   ประเมินผลการนําเสนอรายงานทีมอบหมาย
1.เข้าใจวิธีการสอนช่างเทคนิครูปแบบต่างๆ 
2 .เข้าใจขันตอนเตรียมความพร้อมของครูก่อนดําเนินการสอน 
3 .วิเคราะห์บทเรียนแล้วสร้างสือประกอบการสอน 
4 .มีทักษะในการสอนวิชาชีพตามแนวการศึกษาแผนใหม่
5.เข้าใจวิธีบํารุงรักษาอุปกรณ์การสอนและการใช้งาน 
6 .ปลูกฝงจิตสํานึกในการวางแผนการสอน  มองเห็นคุณค่าของความเปนครูและการมีส่วนร่วมใน กิจกรรมกลุ่ม
2.2 วิธีการสอน บรรยาย  อภิปราย การทํางานกลุ่ม  การนําเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ ค้นหาบทความ ข้อมูลทีเกียวข้อง โดยนํามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดยใช้ปญหา  และเน้นผู้เรียน เปนสําคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบทีเน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 
2 .3.2   ประเมินจากการนําเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
3.1 ทักษะทางปญญา ทีต้องพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเปนระบบ มีการวิเคราะห์ แก้ไขปญหาทีเกิดขึน
3.2.1   การมอบให้นักศึกษา และการนําเสนอผลงาน ตามหัวข้อทีกําหนดให้ จัดทําสืการสอน 
3 .2.2   อภิปรายกลุ่ม นําเสนอ 
3 .2.3   อภิปรายและสรุปผล
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  สอบปฏิบัติ  
3 .3.2   การนําเสนอผลงาน  
3 .3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 
4 .1.2   พัฒนาความเปนผู้นําและผู้ตามในการทํางานเปนทีม 
4 .1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานทีมอบหมายให้ครบถ้วนตามกําหนด เวลา
 การบรรยายเชิงอภิปราย      
การระดมสมองและการอภิปรายกรณีศึกษา      
การสรุปประเด็นสําคัญหรือการนําเสนอ      
การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-study)      
การเรียนรู้จากการทํางาน (Work base learning)
4.3.1  ประเมินตนเอง และเพือน ด้วยแบบฟอร์มทีกําหนด  
4 .3.2  ประเมินจากรายงานทีนําเสนอ  พฤติกรรมการทํางานเปนทีม  
4 .3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครืองมือสือสารทีเหมาะสม                             
5.1.2    สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพือแก้ไข ปญหาอย่างเหมาะสม                             
5.1.3    สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสือสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
5.2.1  ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครืองมือในการติดต่อสือสาร                              
5.2.2    ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครืองมือในการค้นคว้าหาข้อมูล                             
5.2.3    ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครืองมือในการนําเสนอผลงาน                              
5.2.4    ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับ ขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
 5.3.1       ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสือสาร                             
5.3.2    ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหา ข้อมูล                             
5.3.3    ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอผลงาน                           
5.3.4    จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
6.1.1  มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครืองมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ                             
6.1.2    สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์ วิธีการสอนใด้อย่างเหมาะสมกับเนือหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เปนอย่างเหมาะสม
6.2.1  สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน                              6.2.2    สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชียวชาญ                              
6.2.3    สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ                              
6.2.4    จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา                              
6.2.5    สนับสนุนการทําโครงงาน                              
6.2.6    การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
6.3.1  มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน                              
6.3.2    มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน                              
6.3.3    มีการประเมินผลการทํางานในภาคปฏิบัติ                             
 6.3.4    มีการประเมินโครงงานนักศึกษา                              
6.3.5    มีการประเมินนักศึกษาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มอบหมายงาน 1-9 60%
2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 ออกแบบระบบไฟฟ้า ตลอดภาคการศึกษา 30%
เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์  
หนังสือการใช้งานโปรแกรม AUTO CAD