ปฏิบัติการสำรวจ

Surveying Practice

เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะในการใช้อุปกรณ์เครื่องมือวัดชนิดต่างๆในงานสํารวจ โดยการฝึกปฏิบัติในการ วัดระยะ การระดับ การวัดมุม การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนของการวัด งานวงรอบ งานโครงข่ายสามเหลี่ยม งานสํารวจเก็บรายละเอียด และงานเขียนแผนผังภูมิประเทศ
เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินการสอนให้มีความชัดเจน ทั้งในเนื้อหาวิชา ระยะเวลาที่ใช้ แต่ละ หัวข้อ การจัดกิจกรรมการสอน และการประเมินผลได้ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่กําหนด
ฝึกปฏิบัติงานสํารวจโดยใช้เครื่องมือวัดชนิดต่างๆ งานวัดระยะ งานระดับ งานวัดมุม งานคํานวณปรับแก้ความคลาดเคลื่อน งานวงรอบ งานโครงข่ายสามเหลี่ยม และการสํารวจ เพื่อทําแผนผังภูมิประเทศ
1.1 คุณธรรมพื้นฐาน การตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ การรักษาวินัย ปฏิบัติตนตามกฎกติกาของสังคมรักความเป็นระเบียบ ความสะอาด ความประหยัด จิตสาธารณะ สามารถทํางานเป็นหมู่คณะ 1.2 ภาวะผู้นํา และผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อสังคม รู้จักสิทธิและหน้าของตนเอง ไม่ก้าวล้ําสิทธิและหน้าที่ของบุคคลอื่น ฯ 2 .ตระหนักในคุณค่าและเห็นความสําคัญของทรัพยากร 2.1 มีความประณีตในการใช้เครื่องมืออย่างถูกวิธี 2.2 ระวังรักษาและป้องกันมิให้เกิดความเสียหาย 2.3 หลังใช้งานแล้วต้องทําความสะอาดและจัดเก็บเข้าที่ให้เป็นระเบียบ
1.1 ผู้สอนต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ให้เป็นที่ยอมรับของนักศึกษา 1.2 ทุกครั้งในการสอน พยายามหาโอกาสสอดแทรกและเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม 1.3 ยกกรณีศึกษาจากข่าว หรือจากเหตุการณ์ทั้งทางดีและทางร้ายให้นักศึกษาได้ใช้ความ คิดเห็น 1.4 ชี้ให้เห็นถึงความยากในการจัดหาเครื่องมือแต่ละอย่าง 1.5 ผู้สอนต้องควบคุมตรวจสอบการเบิกเครื่องมือที่ใช้และการจัดเก็บ
ประเมินจากพฤติกรรมที่นักศึกษาแสดงออก
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1 ทักษะในการวัดระยะ 2.1.1 วัดระยะโดยการใช้เทป 2.1.2 ใช้กล้องวัดมุมและไม้ระดับเพื่อหาระยะทางโดยวิธี Tangential method 2.1.3 ใช้กล้องวัดมุมและ Subtense Bar เพื่อหาระยะทางได้ 2.1.4 ใช้กล้องวัดมุมในการหาระยะทางโดยวิธี Stadia ได้ 2.1.5 ใช้เครื่องมือวัดระยะอีเล็กโทรนิกส์ได้        2.2 ทักษะในงานระดับ 2.2.1 อ่านค่าบนไม้วัดระดับได้ถูกต้อง 2.2.2 ตรวจสอบความถูกต้องของกล้องระดับได้ 2.2.3 ใช้กล้องระดับวัดหาความสูงต่างระหว่างจุดได้ 2.2.4 ตรวจสอบหาค่าความคลาดเคลื่อนจากการวัดระดับได้ 2.2.5 ปรับแก้ค่าความคลาดเคลื่อนโดยวิธีการต่างๆได้ 2.2.6 หาค่าระดับและใช้ค่าระดับไปเขียนเส้นชั้นความสูงได้ 2.2.7 ใช้งานระดับคํานวณหาปริมาตรได้ 2.2.8 ใช้หลักการทางตรีโกณมิติในการหาค่าระดับ ของจุดอยู่ที่สูงหรือต่ํากว่าแนวระดับ        2.3 ทักษะในงานวัดมุม(ทั้งมุมราบและมุมดิ่ง) 2.3.1 ตั้งกล้องวัดมุมให้ตรงจุดวัดได้อย่างถูกวิธี 2.3.2 ปฏิบัติขั้นตอนก่อนอ่านค่าได้ถูกต้อง 2.3.3 อ่านค่าจานองศาของกล้องวัดมุมแต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง 2.3.4 บันทึกค่าอ่านลง Field Book ได้ถูกต้อง 2.3.5 ตรวจสอบความถูกต้องของผลค่าอ่านได้ 2.3.6 คํานวณค่ามุมและปรับแก้ค่ามุมได้ถูกต้อง        2.4 ทักษะในงานวัดทิศทาง 2.4.1 วัดทิศทางของแนวเส้นโดยใช้เข็มทิศได้ 2.4.2 คํานวณหาทิศทางของแนวเส้นที่ต่อเนื่องกับแนวเส้นที่ทราบทิศทางได้        2.5 ทักษะในงานวงรอบ 2.5.1 วัดมุมและระยะทางในวงรอบได้ 2.5.2 ตรวจสอบผลการวัดและปรับแก้ความคลาดเคลื่อนของมุมได้ 2.5.3 หาทิศทางของแนวเส้นของวงรอบได้ 2.5.4 คํานวณปรับแก้วงรอบและหาค่า พิกัดของจุดได้ 2.3.5 เขียนแผนผังวงรอบและคํานวณพื้นที่ในวงรอบได้        2.6 ทักษะงานสํารวจโดยใช้หลักการของสามเหลี่ยม                         2.6.1 วางแผนจัดแบ่งพื้นที่ที่จะสํารวจให้โยงยึดเป็นสามเหลี่ยมย่อย                         2.6.2 วัดระยะเส้นฐานและเส้นตรวจสอบให้มีความละเอียดถูกต้อง                         2.6.3 วัดมุมรอบจุด                         2.6.4 ตรวจสอบและปรับแก้มุมรอบจุดและมุมภายในสามเหลี่ยม 2.6.5 คํานวณหาด้านที่ไม่ทราบค่า 2.6.6 คํานวณพื้นที่โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างด้านและมุมของสามเหลี่ยม 2.6.7 คํานวณค่าพิกัด 2.6.8 เขียนแผนผังโดยใช้ค่าพิกัด        2.7 ทักษะในการสํารวจเพื่อเขียนแผนที่ภูมิประเทศ 2.7.1 สํารวจตําแหน่งหมูดควบคุมทางราบ และหมุดควบคุมทางดิ่ง 2.7.2 เก็บรายละเอียดตําแหน่งของสิ่งแวดล้อมต่างๆโดยอิงกับหมุดควบคุม 2.72 เขียนรายละเอียดลงแผนที่ตั้งได้จากวงรอบหรือโรงข่ายสามเหลี่ยม
1 จัดแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 6 คน 2 ก่อนลงมือฝึกปฏิบัติแต่ละเรื่อง ผู้สอนต้องชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีการใช้เครื่องมือ ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติการบันทึกข้อมูล และการคํานวณผล โดยแสดงตัวอย่างประกอบ 3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติ ผู้สอนคอยติดตามสังเกตการณ์ปฏิบัติ 4 ให้นักศึกษาส่งผลงานที่ปฏิบัติ
1 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมการฝึก 2 ประเมินจากความถูกต้องของผลงาน
1.มีความสามัคคีภายในกลุ่มเรียน
2.มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
3.ช่วยเหลือเพื่อนภายในกลุ่ม
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่มและให้ตัวแทนนำเสนองานกลุ่ม
 
ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จลุล่วง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ผู้สอนต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ให้เป็นที่ยอมรับของนักศึกษา,ทุกครั้งในการสอน พยายามหาโอกาสสอดแทรกและเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม,ยกกรณีศึกษาจากข่าว หรือจากเหตุการณ์ทั้งทางดีและทางร้ายให้นักศึกษาได้ใช้ความ คิดเห็น,ชี้ให้เห็นถึงความยากในการจัดหาเครื่องมือแต่ละอย่าง,ผู้สอนต้องควบคุมตรวจสอบการเบิกเครื่องมือที่ใช้และการจัดเก็บ จัดแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 6 คน,ก่อนลงมือฝึกปฏิบัติแต่ละเรื่อง ผู้สอนต้องชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีการใช้เครื่องมือ ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติการบันทึกข้อมูล และการคํานวณผล โดยแสดงตัวอย่างประกอบ,ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติ ผู้สอนคอยติดตามสังเกตการณ์ปฏิบัติ,ให้นักศึกษาส่งผลงานที่ปฏิบัติ - คอยชี้แนะแนวทางและสังเกตุนักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จ - -
1 ENGCV302 ปฏิบัติการสำรวจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทักษะเกี่ยวกับเครื่องมือวัดในงานสํารวจ,ทักษะในงานระดับ,ทักษะในงานวัดมุม,ทักษะในงานวัดทิศทาง, ทักษะในการหาระยะทางและความสูงโดยประยุกต์จากมุม,ทักษะในงานวงรอบปิด,ทักษะในงาน โครงข่ายสามเหลี่ยม, ทักษะในการเก็บรายละเอียดเพื่อเขียนแผนผังภูมิประเทศ สอบปฏิบัติและรายงาน 17 90/100
A. BANNISTER & S. RAYMOND, SURVEYING Pitman Publishing 1972 CHARLES B. BREED & GEORGE L HOSMER, THE PRINCPLES AND PRACTICE OF SURVEYING John WiIEY & Son New York 1958 ยรรยง ทรัพย์สุขอํานวย SURVEYING ไทยแลนด์การพิมพ์ 2525 สมศักดิ์ เอื้ออัชฌาสัย วิศวกรรมสํารวจ 2 ซุปเปอร์พริ้นท์ จํากัด กรุงเทพ 2552 PHILLIP G.MANKE & DAVIS M. MACALPINE. LABORATORY MANUAL FOR SURVEYING OKLAHOMA STATE UNIVERSITY 1981