ปฏิบัติงานพื้นฐานทางวิศวกรรม

Basic Engineering Skill

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ    เกี่ยวกับงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม เพื่อนักศึกษาจะได้นำความรู้ ความสามารถไปใช้ในงานทางด้านวิศวกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือถ่ายแบบ  เครื่องมือวัดพื้นฐาน  เครื่องมือขนาดเล็ก การปฏิบัติงานปรับแต่ง การทำเกลียวด้วยต๊าปและดาย  คุณสมบัติและการใช้งานของโลหะทั่วไป เครื่องมือปรับแต่งพื้นฐานอื่น ๆ
ปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือถ่ายแบบ  เครื่องมือวัดพื้นฐาน  เครื่องมือขนาดเล็ก การปฏิบัติงานปรับแต่ง การทำเกลียวด้วยต๊าปและดาย  คุณสมบัติและการใช้งานของโลหะทั่วไป เครื่องมือปรับแต่งพื้นฐานอื่น ๆ
 อาจารย์ผู้สอนประจำวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1-2  ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีระเบียบ วินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อ บังคับ  ต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม               1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตาม ลำดับ ความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์               1.1.3 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์สังคม  และสิ่งแวดล้อม               1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึง เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน
สาธิตพร้อมยกตัวอย่างประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมสอนให้นักศึกษาเป็นผู้มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลาจากการมอบหมายงาน การส่งงาน การเข้าฝึกปฏิบัติ การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม  ความมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพของวิศวกร
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2   พฤติกรรมระหว่างเรียน การตอบคำถาม  การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน
2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน เพื่อประยุกต์เข้ากับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.1.2  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในการปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.1.3   สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1.4   สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
สาธิตการใช้งานเครื่องมือพื้นฐานทางวิศวกรรม ถาม ตอบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในโรงฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรม ให้ทำใบงานในชั่วโมงปฏิบัติจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1  ใบงานฝึกปฏิบัติ ด้วยทักษะฝีมือที่เน้นการปฏิบัติในงานปฏิบัติเบื้องต้นทางวิศวกรรม 2.3.2  ประเมินจากการปฏิบัติงานตามใบงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1  มีแนวความคิดอย่างเป็นระบบและมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2  สามารถคิด วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.3  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.2.1   การมอบหมายงานฝึกปฏิบัติจากใบงาน 3.2.2   มอบหมายงานให้นักศึกษาไปทำเพิ่มจากใบงานและให้หาข้อมูลประกอบรายงาน
.3.1   ใบงานฝึกปฏิบัติ ด้วยทักษะฝีมือที่เน้นการปฏิบัติในงานปฏิบัติเบื้องต้นทางวิศวกรรม 3.3.2   ประเมินจากการทำใบงานปฏิบัติ และงานที่ได้รับมอบหมาย
         4.1.1สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษา ต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพ มาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม            4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง          4.1.3  รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ              4.1.4  มีจิตสำนึกต่อความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นเพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล  4.2.2  ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน ความรับผิดชอบในการทำงาน การดูแลรักษาอุปกรณ์เครื่องมือปฏิบัติพื้นฐานทางวิศวกรรม ความตรงต่อเวลาในการส่งงาน
5.1.1  มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.1.2  สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5.1.3 ฝึกให้นักศึกษาใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานปฏิบัติพื้นฐานทางวิศวกรรมและสืบค้นข้อมูล ได้อย่างทันสมัยและเหมาะสม
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ  web site สื่อการสอน ต่าง ๆ 5.2.2  มอบหมายงานที่ใช้การคิดคำนวณ เชิงตัวเลข จากใบงาน
5.3.1  ใบงานฝึกปฏิบัติ ด้วยทักษะฝีมือที่เน้นการปฏิบัติ 5.3.2  ประเมินจากใบงานปฏิบัติ และงานที่ได้รับมอบหมาย
 
6.1.1มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา สำหรับ เครื่องมือ อุปกรณ์ การบำรุงรักษาและวิธีการ ได้อย่างถูกวิธีมีประสิทธิภาพ
6.2.1  ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
6.3.1  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน  6.3.2  ประเมินงานตามใบงานปฏิบัติและงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3.1 3.2 3.3 3.1 3.2 3.3 1.1 1.2 1.3 1.1 1.2 1.3 5.1 5.2 5.3
1 TEDEE101 ปฏิบัติงานพื้นฐานทางวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การฝึกปฏิบัติตาม ใบงานและงานที่ได้รับมอบหมาย การฝึกปฏิบัติ การศึกษาค้าคว้า งานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 90%
2 การมีส่วนร่วมในการเรียน การเข้าฝึกปฏิบัติและความประพฤติ การมีส่วนร่วม การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ใบงานปฏิบัติเบื้องต้นทางวิศวกรรม
ใบงานปฏิบัติเบื้องต้นทางวิศวกรรม
3.1  เอกสารประกอบการสอนการปฏิบัติเบื้องต้นทางวิศวกรรม 3.2  รศ.อำพล ซื่อตรง, รศ.วันชัย  จัทรวงศ์, งานเครื่องมือกลเบื้องต้น บรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ, สำนักพิมพ์ศูนย์สงเสริมวิชาการ, 2545 3.3  อนันต์  วงศ์กระจ่าง, ทฤษฎีงานฝึกฝีมือ,  คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยี, โรงพิมพ์ศรีสยาม, 2529
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้             1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน             1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา             1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้แจ้งให้กับนักศึกษาเพื่อใช้เป็นช่องทางในการสื่อสาร
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2  ชิ้นงานที่ได้จากการฝึกปฏิบัติ
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อที่ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนด้วยการทำการวิจัยในชั้นเรียน การจัดการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษามีส่วนร่วม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ด้วยการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อที่ 4 ดำเนินการปรับปรุงกิจกรรมการสอนและแผนการสอนให้มีความเหมาะสมกับปัจจุบัน