กลศาสตร์วัสดุ

Mechanics of Materials

          เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแรงและความเค้น ความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครียด ความเค้นในคาน แผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การแอ่นของคาน การบิด การโก่งของเสา วงกลมของโมร์และความเค้นผสม หลักการการเสียหาย
          2.1  เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย ครอบคลุมต่อองค์ความรู้และเทคโนโลยีในปัจจุบัน
          2.2  เพื่อให้รายวิชามีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องต่อความต้องการของนักศึกษาและความต้องการของสถานประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิต
          2.3  เพื่อพัฒนารายวิชาและวิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดประโยชน์สูงสุด
          ศึกษาเกี่ยวกับแรงและความเค้น ความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครียด ความเค้นในคาน แผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การแอ่นของคาน การบิด การโก่งของเสา วงกลมของโมร์และความเค้นผสม หลักการการเสียหาย
          3.1  อาจารย์ประจำวิชาปฐมนิเทศและแจ้งให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับความสำคัญของวิชา    วิธีการดำเนินการเรียนการสอน  และเวลาที่ใช้ศึกษานอกเวลาเรียนในแต่ละสัปดาห์
          3.2  อาจารย์ประจำวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ต่อกลุ่มเรียน โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าขอรับคำปรึกษาทั้งแบบเผชิญหน้า (Face to Face) และผ่านสื่อเครือข่ายสังคม (Social media)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.1 ยกกรณีศึกษาในสถานการณ์ปัจจุบัน ในด้านคุณธรรม จริยธรรม มาสอนในช่วงเริ่มต้นชั่วโมงสอนแต่ละครั้ง
1.3.1 จิตพิสัยของนักศึกษาตลอดภาคการศึกษา
1.3.2 การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายไว้รวมถึงความประณีต เรียบร้อยของงานที่สะท้อนถึงความตั้งใจความรับผิดชอบของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.2 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ
2.2.2 สอนแบบถามตอบและให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหน้าชั้นเรียนเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างเพื่อนกับเพื่อน
2.3.1 งานและแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
2.3.2 การสอบย่อย  สอบกลางภาค  สอบปลายภาค
3.1.1 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.2  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.2.1  เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ Problem-based learning เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการแก้ปัญหาและการถ่ายโยงความรู้  และอภิปราย ถกแถลง ในชั้นเรียนเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างเพื่อนกับเพื่อน
3.3.1 งานและแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
3.3.2 การสอบย่อย  สอบกลางภาค  สอบปลายภาค
4.1.1 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2.1 สอนแบบถามตอบและให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหน้าชั้นเรียนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ Problem-based learning เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการแก้ปัญหาและการถ่ายโยงความรู้  และอภิปราย ถกแถลง ในชั้นเรียนเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างเพื่อนกับเพื่อน
4.3.1 แบบฝึกหัดที่มอบหมายให้ทำหน้าชั้น และมอบให้ทำเป็นการบ้าน
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 ให้สืบค้นข้อมูลทางด้านวิศวกรรมตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั้งใน และต่างประเทศ รวมถึงทบทวนการใช้เครื่องคำนวณทางวิทยาศาสตร์
5.3.1 ไม่ได้เน้นการพัฒนาทางด้านนี้ จึงไม่มีการจัดการประเมินผล
- ไม่มี -
- ไม่มี -
- ไม่มี -
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ยกกรณีศึกษาในสถานการณ์ปัจจุบัน ในด้านคุณธรรม จริยธรรม มาสอนในช่วงเริ่มต้นชั่วโมงสอนแต่ละครั้ง บรรยาย/ถามตอบ/ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหน้าชั้นเรียน บรรยาย/ถามตอบ/ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหน้าชั้นเรียน Problem-based learning Problem-based learning Problem-based learning สืบค้นข้อมูลทางด้านวิศวกรรมตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั้งใน และต่างประเทศ รวมถึงทบทวนการใช้เครื่องคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ไม่มี
1 ENGAG101 กลศาสตร์วัสดุ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 5.1.1, 5.1.2 สอบเก็บคะแนน 1 สอบกลางภาค สอบเก็บคะแนน 2 สอบปลายภาค 5 9 13 17 20 % 20 % 20 % 20 %
2 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 5.1.1, 5.1.2 งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
3 1.1.1 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
1.1 Bela I. Sandor., Michael J. Moran. (1999). Mechanical Engineering Handbook. frankkreith.
1.2 R. C. Hibbeler. (2014). Mechanics of Materials. ninth edition. Pearson Prentice Hall.
- ไม่ม่ี -
          3.1 Engineering Mechanic STATICS 10th Ed. R.C. Hibbeler.
          3.2 Mechanical Engineering Design 7th Ed. Shigley.
          การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
          1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาผ่านระบบออนไลน์
                   1.2 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
          ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
          2.1 การสังเกตการณ์การทำแบบฝึกหัดของนักศึกษาระหว่างเรียน และงานมอบหมายที่นักศึกษาทำส่ง
          2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.3 ผลการประเมินการสอนของอาจารย์
          ปรับการสอนรายสัปดาห์โดยพิจารณาจากผลข้อ 2.1
          ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
          4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
          จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
          5.1 ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ