เว็บเทคโนโลยี

Web Technology

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
     - มีความรู้เกี่ยวกับการทำงานและการให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ต
     - มีความรู้ ความเข้าใจองค์ประกอบต่างๆ ของเว็บเทคโนโลยีอย่างถูกต้อง
     - สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลฝั่งไคลเอนต์และฝั่งเซิร์ฟเวอร์
 
     เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสื่อสารของอินเตอร์เน็ต โครงสร้างการทำงานและการเขียนโปรแกรมของเว็บเซิร์ฟเวอร์ และเว็บไคลแอนท์ การบันทึกข้อมูลผ่านฟอร์ม การเชื่อมต่อกับโปรแกรมบนเซิร์ฟเวอร์ การพัฒนาโปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูลเพื่อเผยแพร่สารสนเทศ โปรแกรมและเครื่องมือสำหรับการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ และการประยุกต์ในงานสารสนเทศ เป็นนักเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพ ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
   ศึกษาการทำงานและการให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ต ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเทคโนโลยีเวิลด์ไวด์เว็บ การเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลผั่งไคลเอนต์และฝั่งเซิร์ฟเวอร์ การควบคุมสถานะ การติดต่อกับฐานข้อมูล และการพัฒนาเนื้อหาสื่อดิจิตอล
     อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม
    3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์อาคาร 3   โทร.  1151
    3.2  e-mail; morakot@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
   1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
   1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี
(Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
   4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
   4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
   6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
   6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
   6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข การ สื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
1 BSCCT601 เว็บเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 * ด้านความรู้ ( Knowledge ) * ด้านทักษะทางปัญญา สอบหน้าจอ 2 ครั้ง 7, 15 20%
2 * ด้านทักษะทางปัญญา * ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ * ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Mini project 8, 16 10%
3 * ด้านความรู้ ( Knowledge ) สอบกลางภาค 8 35%
4 * ด้านความรู้ ( Knowledge ) สอบปลายภาค 16 35%
Kai Qian ,  et . al .  Java Web Development Illminated .   2007 Jones  &  Bartlett
David Geary  &  Cay Horstmann Core JavaServer Faces  2008 Prentice Hall
www.w3schools.com
-
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การถาม ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน

1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาแบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน ผลการสอบ

การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของทีมผู้สอน
การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ