อาหารเชิงหน้าที่

Functional Foods

เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาบทบาทของวัตถุดิบทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่เช่น สมุนไพร ผักพื้นบ้าน เป็นต้น อาหารเฉพาะหน้าที่ชนิดต่างๆ เช่น อาหารเสริมสารอาหาร (fortified food) อาหารบำบัดโรค (pharmaceutical food) อาหารชีวจิต (neutraceutical food) และอาหารเพื่อความงาม (Beauty food) มาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่ การวิเคราะห์คุณภาพอาหารเฉพาะหน้าที่ สารออกฤทธิ์ชีวภาพ (Bioactive compound) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่ศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้องและรายงาน
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ และประสบการณ์ที่ทันต่อเหตุการณ์ โดยการนำประสบการณ์ของผู้สอน และการค้นคว้าข้อมูลที่ทันสมัย มาประกอบเป็นข้อมูล ในการสอนยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมและรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม  เน้นการสร้างความเข้าใจเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ศึกษาบทบาทของวัตถุดิบทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่เช่น สมุนไพร ผักพื้นบ้าน เป็นต้น อาหารเฉพาะหน้าที่ชนิดต่างๆ เช่น อาหารเสริมสารอาหาร (fortified food) อาหารบำบัดโรค(pharmaceutical food) อาหารชีวจิต (neutraceutical food) และอาหารเพื่อความงาม (Beauty food) มาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่ การวิเคราะห์คุณภาพอาหารเฉพาะหน้าที่ สารออกฤทธิ์ชีวภาพ (Bioactive compound) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอาหารเฉพาะหน้าที่ศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้องและรายงาน
3.1 วันพุธ-วันพฤหัสบดี ห้อง TBA สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร โทร.  08-2034-5886
3.2  E-mail: niornchomsri@rmutl.ac.th เวลา 15.00 – 17.00 น.
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพสิทธิและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน และการทำงาน และการนำเอาความรู้ที่ได้จากวิชาเทคโนโลยีหมักดองไปใช้ในชีวิตจริง  พร้อมมอบหมายให้ทำรายงานเป็นรายบุคคล  และมีการอภิปรายกลุ่ม
1.1 ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.4 สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
2.1 มีความรู้ความเข้าใจหลักการ และกระบวนการที่เกิดขึ้นในหัวข้อที่มีการเรียนการสอน
2.2 มีความรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้
2.3 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางวิชาการ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.1 ค้นคว้า และบรรยายเกี่ยวกับหัวข้อที่กำหนด
2.2 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าในหัวข้อที่กำหนด  โดยมีอาจารย์ผู้สอนให้คำแนะนำในกระบวนการเรียนรู้ 
2.3มอบหมายให้ทำงานมอบหมายแบบรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
2.1 สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยายและการปฏิบัติ
2.2  สอบข้อเขียน ปฏิบัติ และสอบสัมภาษณ์เกี่ยวกับหัวข้อที่กำหนด
2.3 ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม และประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
3.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ มีการค้นคว้าแนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลที่ได้ในการแก้ไขปัญหาหรืองานอื่นๆ ได้ด้วยตนเอง
3.2 สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความรู้ทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ในภาคปฏิบัติ และผลกระทบที่ตามมาจากการตัดสินใจนั้น  
3.3 สามารถใช้ทักษะและความรู้ความเข้าใจอันถ่องแท้ ในงานมอบหมายในหัวข้อข้อที่กำหนด และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.4 มีทักษะตามที่ได้รับการฝึกฝน จากเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
3.1 มีการสอดแทรกการสาธิตและเพิ่มเติมในการปฏิบัติจริง ในหัวข้อที่เหมาะสม ควบคู่กับหัวข้อภาคบรรยาย
3.2 อธิบายหน่วยเรียน/fact เป็นลำดับขั้นตอน แบ่งกลุ่มนักศึกษา แนะนำเทคนิคระหว่างการเรียนรู้ และกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้  และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บนพื้นฐานของหลักการคิดอย่างมีเหตุผล ในรูปแบบ Pro and Con ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
3.3 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่กำหนด
3.1 สอบปฏิบัติ
3.2 ประเมินทักษะและการแก้ไขปัญหาระหว่างปฏิบัติ
3.3 ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
3.4 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.5 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพและแก้ไขข้อขัดข้องได้อย่างเหมาะสม
4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1 ใช้รูปแบบการสอนแบบบูรณาการ การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory learning)
4.2 มอบหมายงานทั้งงานรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.3 อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียน
4.4 แบ่งงานให้นักศึกษาในตามหัวข้อที่กำหนดโดยสอดแทรกการฝึกบทบาท  และหน้าที่ของผู้นำและผู้ตาม
4.1 ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
4.2 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการจัดการหลังการเรียนการสอน
4.3 สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
5.1 สามารถอธิบายข้อมูลเชิงตัวเลขในหัวข้อที่กำหนดได้
5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ  เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการกับข้อมูลต่างๆ อย่างเหมาะสม
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้และเหมาะสม
5.1 บรรยายวิธีการคำนวณค่าต่างๆ จากหัวข้อที่กำหนดได้
5.2 มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยใหม่ๆ  ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่กำหนด และมีการนำเสนอในชั้นเรียน
5.1 ทดสอบการคำนวณที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่กำหนด
5.2 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัย เช่น การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
5.3 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
5.4 ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
5.5 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และความมีระเบียบ วินัยระหว่างการปฏิบัติงาน
6.1 มีทักษะการบริหารเวลาในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
6.2 มีทักษะในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม
6.3 มีทักษะในการค้นคว้า  และสร้างพฤติกรรมในการความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในสาขาที่เกี่ยวข้อง
6.1 อธิบายวิธีการที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่กำหนด  และลำดับขั้นตอนของหัวข้อดังกล่าวได้
6.2 อธิบายผลิต กระบวนการ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามหัวข้อที่กำหนดได้
6.3 สาธิตและแนะนำทักษะการค้นคว้า  เพื่อให้เข้าถึงแก่นของของหัวข้อที่กำหนดได้ด้วยความเข้าใจ
6.1 ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
6..2 ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างเหมาะสม
6.3 สอบสัมภาษณ์และประเมินคุณภาพของผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 MSCGT413 อาหารเชิงหน้าที่
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,5.1,5.2,6.1,6.2 2.1,2.2,5.1,5.2,6.1,6.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 20 %, 20 %
2 1.1,1.2,2.1,2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,5.1,5.2,6.1,6.2 1.1,1.2,2.1,2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,5.1,5.2,6.1,6.2 1.1,1.2,2.1,2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,5.1,5.2,6.1,6.2 การนำเสนองานและรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1,1.2,2.1,2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,5.1,5.2,6.1,6.2 1.1,1.2,2.1,2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,5.1,5.2,6.1,6.2 1.1,1.2,2.1,2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,5.1,5.2,6.1,6.2 การเข้าชั้นเรียน การปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วม การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 30%
Akın, M.B., Akın, M.S. and Kırmacı, Z. 2007. Effects of inulin and sugar levels on the viability of yogurt and probiotic bacteria and the physical and sensory characteristics in probiotic ice-cream. Food Chemistry. 104: 93–99.
Ferreira, I. and Barros, L. 2019. Functional food ingredients from plants. Academic Press. Cambridge. 465 p.
Gu, J., Ahn-Jarvis, J.H., Riedl, K.M., Schwartz ,S.J., Clinton, S.K. and Vodovotz, Y. 2014. Characterization of Black Raspberry Functional Food Products for Cancer Prevention Human Clinical Trials. J Agric Food Chem. 62(18): 3997–4006.
Heasman, M. and Mellentin, J. 2014. The functional foods revolution: healthy people, healthy profits. London. 336 p.
Mantzouridou, F., Spanou, A. and Kiosseoglou, V. 2012. An inulin-based dressing emulsion as a potential probiotic food carrier. Food Research International. 46: 260–269.
Meyer, D., Bayarri, S., Tárrega, A. and Costell, E. Inulin as texture modifier in dairy products. 2011. Food Hydrocolloids. 25: 1881-189.
Rodgers, S. 2016. Minimally Processed Functional Foods: Technological and Operational Pathway. Journal of Food Science. 81(10): 2309-2319.
Shetty, K. and Sarkar, D. 2020. Functional foods and biotechnology: sources of functional foods and ingredients. Boca Raton. 206 p.
Siro´, I., Ka´polna, E., Ka´polna, B. and Lugasi, A. 2008. Functional food. Product development, marketing and consumer acceptance—A review. Appetite. 51: 456–467.
Srisuvor, N., Chinprahast, N., Prakitchaiwattana, C. and Subhimaros, S. 2013. Effects of inulin and polydextrose on physicochemical and sensory properties of low-fat set yoghurt with probiotic-cultured banana purée. LWT - Food Science and Technology.51: 30-36.
องค์ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับหัวข้อที่ศึกษา
http://www.sciencedirect.com
สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ จากการจัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความคิดเห็นที่ได้จากนักศึกษาดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัย 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
      สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอน เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป
        วางแผนประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  โดยมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้คือ  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  และเปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ หรือภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ หรือผู้ใช้ประโยชน์