เคลือบ 1

Glaze 1

ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมา ลักษณะเฉพาะ และการแบ่งประเภทของเคลือบ ตามอุณหภูมิและบรรยากาศการเผา วัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้ำเคลือบ วัตถุดิบให้สี ขั้นตอนการเตรียมเคลือบเพื่อการทดสอบ การทำเคลือบใสให้เป็นเคลือบสี ตลอดจนการทำเคลือบโดยวิธีต่างๆ การคำนวณ การเขียนและการอ่านสูตรเคลือบจากตารางสามเหลี่ยมและสูตรทางเคมี การบันทึกผลการทดสอบ กระบวนการเตรียมน้ำเคลือบ เทคนิคการใช้เคลือบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะจากการปฏิบัติจริงในสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมจริงอย่างครบกระบวนการด้วยการเรียนรู้อย่างมีความสุข สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีระบบ เพื่อการนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตและประกอบอาชีพด้านเซรามิก
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมา ลักษณะเฉพาะ และการแบ่งประเภทของเคลือบ ตามอุณหภูมิและบรรยากาศการเผา วัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้ำเคลือบ วัตถุดิบให้สี ขั้นตอนการเตรียมเคลือบเพื่อการทดสอบ การทำเคลือบใสให้เป็นเคลือบสี ตลอดจนการทำเคลือบโดยวิธีต่างๆ การคำนวณ การเขียนและการอ่านสูตรเคลือบจากตารางสามเหลี่ยมและสูตรทางเคมี การบันทึกผลการทดสอบ กระบวนการเตรียมน้ำเคลือบ เทคนิคการใช้เคลือบ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียน และนอกเวลา
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในอีเมล์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีคุณธรรม ตรงต่อเวลามีจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
 
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้ในหลักการปฏิบัติเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมา ลักษณะเฉพาะ และการแบ่งประเภทของเคลือบ ตามอุณหภูมิและบรรยากาศการเผา วัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้ำเคลือบ วัตถุดิบให้สี ขั้นตอนการเตรียมเคลือบเพื่อการทดสอบ การทำเคลือบใสให้เป็นเคลือบสี ตลอดจนการทำเคลือบโดยวิธีต่างๆ การคำนวณ การเขียนและการอ่านสูตรเคลือบจากตารางสามเหลี่ยมและสูตรทางเคมี การบันทึกผลการทดสอบ กระบวนการเตรียมน้ำเคลือบ เทคนิคการใช้เคลือบ
บรรยาย สาธิต ยกตัวอย่าง ทำให้ดู พร้อมปฏิบัติ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงานทดลอง
 
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เครื่องมือ
 
3.2.1 การบรรยาย และการเน้นให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่มอบหมาย
3.2.2 สาธิตการทดลอง
3.2.3 สาธิตการเคลือบ
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในทดลองเคลือบ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงานทดลอง
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานเป็นรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนอผลงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยหลักการแก้ปัญหา
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
  (1)  มีทักษะในการท าตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะน า                                   
(2)  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                 
(3)  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
มอบหมายงานให้นักศึกษาทดลอง ค้นคว้าน้ำยาเคลือบสูตรใหม่จากทฤษฏี โดยใช้เครื่องมือปฏิบัติงานตามกระบวนการทดลอง
ผลงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5. ด้านทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ุ6. ด้านทักษะพิสัย (ทักษะวิชาชีพ)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 4 3 1 2 3 1 2 3
1 BTECE116 เคลือบ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 การปฏิบัติงานและผลงาน การนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย กริยามารยาท การส่งงานตามเวลากำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
 
โกมล รักษ์วงศ์. เอกสารคำสอนน้ำเคลือบ 2. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฎพระนคร, 2538. ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เคลือบเซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530. ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547. ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์. เนื้อดินเซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2541. ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์. รวมสูตรเคลือบเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2537. สุรศักดิ์ โกสิยะพันธ์. น้ำเคลือบเครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฎ
พระนคร, 2534.
สมบูรณ์ อรัณยภาค. เซรามิกจากดินแดง. เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์, 2545. สมบูรณ์ สารสิทธิ์ ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์และเทคโนโลยี. นครศรีธรรมราช : สถาบันราชภัฎ
นครศรีธรรมราช, 2541.
อายุวัฒน์ สว่างผล. วัตถุดิบที่ใช้แพร่หลายในงานเซรามิกส์. กำแพงเพชร : สถาบันราชภัฎ
กำแพงเพชร, 2541.
Coleman, T., Copper red glazes - Studio Potter, (1979), 8, p. 21. Grebanier, Joseph Chinese Stoneware Glazes. London: Pitman Publishing, 1975. Joseph Grebanier, “ Chinese stoneware glazes ”1975 pp. 51 Kring, W.D., Copper red glazes - Studio Potter, (1979), 8, p. 8. Kingery W. D., Introduction to Ceramics, 2nd Edition, Sons New York, 1975. Lan Currie, Stoneware glazes, Queensland, Australia: Bootstrap Press, 1993. Lawrence, W. G., Ceramic science for the potter- Chilton, (1972). L. Kido, M. Muller & C. Russel “Redox reactions occurring during temperature change in soda-lime-sime-silicate melts doped with copper and antimony or copper and tin ” Phys. Chem. Glasses., 2004,45(1),pp.25-26 M.Wakamtsu et al ., “ Effect of furnace atmosphere on color of copper glaze”, Yogyo – Kyokai – Shi, 1986, pp.387 – 392 M. Wakamtsu, N. Takeuchi and H. Nagai “Chemical states of copper and tin in copper glazes fired under various atmospheres”, J.Am. Ceram.Soc.,1989, pp. 16 – 19 M. Wakamtsu, N. Takeuchi and S. Ishida, “Effect of heating and cooling atmospheres on colors of glaze and glass containing copper”, J. of non – Cryst. Solids, 80, 1986, pp.412 –416 Parmelee, Cullen W. Ceramic Glazes. Boston, Massachusetts : Cahners Books
Company, Inc. 1973.
Partington, J. R., a textbook of inorganic chemistry - Macmillan, (1944). Parmelee, Cullen W. Ceramic Glazes. Industrial Publication, Inc. Chicago 3 : Illinois, 1951. Ram pyare and P. nath “Stannous-stannic equilibrium in molten alkali silicate and ternary silicate glasses” J.Am. Ceram.Soc.,1982, pp. 549 – 550 Robert Tichane, “Copper red glazes”1998 pp. 93-109,165-166 Robert Tichane, Reds, Reds, Copper red; pp. 27-30 The New York State institute for glaze research, painted post, NY, 1985. Rawson, H., Transmission curves of glass stained by copper and silver compound – Rhodes , Daniel . Clay and glazes for the potter New York ; Chilton book company , 1962. Seger, H. A., Collected writings - Chem. Pub., (1902). Shaw, Kenneth. Ceramic Glazes. London: Applied Science Publishers Ltd., 1971. Thames and Hudson, “Chinese Ceramic The new standard guide. Ltd.,London, 1996
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อน้ำเคลือบเซรามิก
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ