การดำเนินงานส่วนงานแม่บ้าน

Housekeeping Operation

1.1เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจศึกษาโครงสร้างและลักษณะงานของแผนกแม่บ้าน คุณสมบัติ หน้าที่และความรับผิดชอบ ความรู้และทักษะด้านของการใช้อุปกรณ์รวมถึงการเก็บรักษาและการเบิกจ่าย
1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถฝึกปฏิบัติสถานที่จริง การทำความสะอาดห้องพักเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงการบูรณาการทักษะปฏิบัติ ความรู้ในส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการบริการการบริหารงานบุคลากรในแผนกแม่บ้านรวมถึงเทคนิคการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ 
         เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจคุณสมบัติ หน้าที่และความรับผิดชอบ และทักษะด้านของแผนกแม่บ้าน รวมถึงการใช้อุปกรณ์ การเก็บรักษา และการเบิกจ่ายวัสดุอุปกรณ์ในงานแม่บ้าน ให้ทันตามสถานการณ์โลกในปัจจุบัน  
                    ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและลักษณะงานของแผนกแม่บ้าน คุณสมบัติของพนักงานแม่บ้าน หน้าที่และความรับผิดชอบ ความรู้และทักษะด้านของการใช้อุปกรณ์ การเก็บรักษา และการเบิกจ่ายวัสดุอุปกรณ์ในงานแม่บ้าน การทำความสะอาดห้องพักแขกและบริเวณสาธารณะ ภายในโรงแรม และการบริหารงานบุคลากรในแผนกแม่บ้าน
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต  และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ
3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
5. ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ
1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน
2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
2. การสอบข้อเขียน
3. การเขียนรายงาน
1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา
1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน
1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ 1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 2. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
1 BOATH117 การดำเนินงานส่วนงานแม่บ้าน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,4.1 -สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน -สังเกตพฤติกรรมในการเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1,2.2,2.3 -ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาค -ปลายภาค(สอบภาคปฏิบัติ) (ชิ้นงาน) -ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน(ชิ้นงาน) 9,13,15,16 ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 2.1, 3.1,3.3, 4.1,5.1,6.1 -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน -ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน -ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน -ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ -การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ ตลอดภาคการศึกษา 40%
1.เอกสารและตำราหลัก
    - หนังสือเรียนชื่อ ขจิต กอบเดช งานโรงแรมฝ่ายห้องพัก (Room Division) งานแม่บ้านในโรงแรมและสถาบันอื่นๆ(Housekeeping in Hotel and Other Institutions.)
- เอกสารE book RMU. วิชางานแม่บ้าน HO 305 Housekeeping Management     
แบบฟอร์มสำหรับวัสดุ เครื่องมืออุปกรณ์ของแผนกแม่บ้าน
แบบรายงานการดำเนินงาน  ใบคุวบยอดวัสดุสิ้นเปลือง
คำบรรยายลักษณะงานของตำแหน่งงานต่างๆของแผนกแม่บ้าน
ควรเพิ่มการจองห้องพักผ่านระบบออนไลน์ และระบบการชำระเงิน การให้ข้อมูลของการท่องเที่ยวและบริการต่างๆของห้องพักผ่านระบบ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.   ผลการเรียนของนักศึกษา
3.  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
1.  ประชุมการจัดการเรียนการสอน
2.  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา คือ การทวนสอบโดยวิธีการสอบย่อย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
1.   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2.   เชิญอาจารย์ผู้สอนหรือวิทยากรภายนอกเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในธุรกิจการบินได้