ภาษาจีนพื้นฐาน 1

Fundamental Chinese 1

1.เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ภาษาจีนเบื้องต้น
2. เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับ กลุ่มคำ ประโยค และบทสนทนาในชีวิตประจำวันแบบง่ายๆ การทักทาย การแนะนำตนเอง และผู้อื่น ตัวเลขและพื้นฐานภาษาจีน การใช้ภาษาจีนในการสื่อสารและสนทนา 
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถถ่ายทอดข้อมูลได้
ฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ภาษาจีนเบื้องต้นเกี่ยวกับ กลุ่มคำ ประโยค และบทสนทนาในชีวิตประจำวันแบบง่ายๆ การทักทาย การแนะนำตนเอง และผู้อื่น ตัวเลขและพื้นฐานภาษาจีน การใช้ภาษาจีนในการสื่อสารและสนทนา และสามารถถ่ายทอดข้อมูลได้
Practice listening skill, speaking skill, reading skill, and writing skill in basic Chinese in phases, sentences, and conversation in everyday life. Greeting,self-introduction, number and basic Chinese in communication and conversation and be able to interpret information
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของหลักสูตร
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
  1.มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1.1.1 / 2.  มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 2.1.1.2   3.   ความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 2.1.1.3   4.  มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 2.1.1.4
  1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน 2.1.2.1 √ 2.  สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ 2.1.2.2 √ 3.  สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน 2.1.2.3   4.  สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Coad) ที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณ 2.1.2.4 √ 5.  การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่างๆ 2.1.2.5 √ 6.  การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน 2.1.2.6
  1)  ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย 2.1.3.1 √ 2)  สังเกตการณ์แสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน 2.1.3.2 √ 3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน 2.1.3.3 √ 4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก 2.1.3.4   5)  ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน 2.1.3.5
  1.  มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2.1.1 / 2.  มีความรู้เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.2.1.2   3.  มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ 2.2.1.3
√ 1.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ 2.2.2.1 √ 2.  มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม 2.2.2.2   3.  ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ 2.2.2.3 √ 4.  อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 2.2.2.4 √ 5.  การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน 2.2.2.5   6.  ฝึกปฏิบัติกับสถานประกอบการ 2.2.2.6   7.  ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมมือกับมืออาชีพ (Professional) ในวิชานั้นๆ 2.2.2.7
√ 1.  ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน 2.2.3.1 √ 2.  ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 2.2.3.2 √ 3.  ประเมินจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน 2.2.3.3 √ 4.  ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า 2.2.3.4
  1.  มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2.3.3.1   2.  มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 2.3.3.2   3.  มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 2.3.3.3
  1.  ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนงานวิจัย 2.3.2.1 √ 2.  การอภิปรายเป็นกลุ่ม 2.3.2.2   3.  การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา 2.3.2.3   4.  การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ 2.3.2.4   5.  กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการ           การควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม 2.3.2.5
√ 1.  ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ 2.3.3.1   2.  การสอบข้อเขียน 2.3.3.2   3.  การเขียนรายงาน 2.3.3.3
/ 1.  มีสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ดี 2.4.1.1   2.  มีความสามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล 2.4.1.2   3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 2.4.1.3
  1.  บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ 2.4.2.1 √ 2.  มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม 2.4.2.2 √ 3.  สอนโดยใช้กรณีศึกษา 2.4.2.3
√ 1.  ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน 2.4.3.1   ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน 2.4.3.2   ใช้ประวัติสะสมงาน (Portfolio) ในการประเมิน 2.4.3.3 √ สังเกตพฤติกรรมในการเรียน 2.4.3.4   ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา 2.4.3.5
/ 1.  มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.1   2.  มีความสามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 2.5.1.2   3.  สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.3
  1.  ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติโดยการสอบปฏิบัติและสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษ 2.5.2.1   2.  ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน 2.5.2.2 √ 3.  นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน 2.5.2.3 √ 4.  บูรณาการการโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสิ่งต่างๆ 2.5.2.4   5.  ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.5.2.5
  1.  ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ 2.5.2.1 √ 2.  ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 2.5.2.2 √ 3.  ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์ 2.5.2.3 √ 4.  ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า 2.5.2.4
/ 1.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2.6.1.1   2.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2.6.1.2   3.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล 2.6.1.3
√ 1.  ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ 2.6.2.1   2.  จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก 2.6.2.2 √ 3.  ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล 2.6.2.3

 
  1.  ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน 2.6.2.1 √ 2.  ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ 2.6.2.2   3.  ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน 2.6.2.3
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. จริยธรรมและคุณธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ุ6. ทักษะด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 3 1 2 1 2 3
1 BOATH149 ภาษาจีนพื้นฐาน 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ 18 50%
2 - การให้ความร่วมมือในการทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับผู้อื่น - ความพยายามในการพัฒนาความรู้และทักษะ - การนำเสนองานที่ได้รบมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย มีวินัยในการทำงาน การตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. Hanyu jiaocheng 1-2
2. Survivor จีน
 
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน (ทำวาระประชุมแบบไม่เป็นทางการ ทั้งก่อนเรียน /หลังสอบมิดเทอมและไฟนอล)
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา (ใช้แบบฟอร์มของมหาวิทยาลัย)
1.3ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถาม ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา (แบบสอบถามหลังเรียนทุกชั่วโมง)
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน (เชิญอาจารย์ในสาขาวิชาประเมินการสอน ถ้าไม่สะดวกอัดวีดีโอ แล้วส่งให้หัวหน้าหลักสูตรและอาจารย์สายวิชาชีพประเมิน)
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
4.2 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด
4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย
4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3   ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย
5.4   ปรับปรุงเนื้อหารายวิชที่ได้จากการวิจัย