การสร้างคุณค่าร่วมกลยุทธ์ธุรกิจเพื่อสังคม

Creating Shared Value

      ศึกษาถึงบทบาทการสร้างคุณค่าร่วมทางเศรษฐกิจโดยผ่านกิจกรรมทางสังคมเพื่อให้เกิดแนวทางการดำเนินธุรกิจที่ให้ความสำคัญเชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการของสังคมและธุรกิจกับสร้างคุณค่าเพื่อความสำเร็จในระยะยาวของธุรกิจและสังคมให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกัน
          เพื่อให้นักศึกษารู้บทบาทและแนวทางการสร้างคุณค่าร่วมกันทางเศรษฐกิจรวมถึงเข้าใจบทบาทในการสร้างคุณค่าร่วมระหว่างธุรกิจมีความเข้าใจในการสร้างคุณค่าเพื่อความสำเร็จในระยะยาวเพื่อให้เชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการของสังคมและธุรกิจ
  ศึกษาถึงบทบาทการสร้างคุณค่าร่วมทางเศรษฐกิจโดยผ่านกิจกรรมทางสังคมเพื่อให้เกิดแนวทางการดำเนินธุรกิจที่ให้ความสำคัญเชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการของสังคมและธุรกิจกับสร้างคุณค่าเพื่อความสำเร็จในระยะยาวของธุรกิจและสังคมให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกัน
-   อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาผ่าน Facebook, Line โดยการสร้างกลุ่มเฉพาะรายวิชาเพื่อให้คำปรึกษาเฉพาะกลุ่ม
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
1.1.1ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.3 มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต รู้จักแบ่งปัน มีน้ำใจ มีจิตอาสาและทำประโยชน์ให้กับสังคมและส่วนรวม
1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
2.1บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นการสร้างคุณค่าร่วมทางธุรกิจ สังคมและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องในรูปแบบต่างๆ

1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดสรร เลือกสรร ทักษะและทรัพยากรที่ก่อให้เกิดคุณค่าร่วมระหว่างธุรกิจและสังคม ตลอดจนการสร้างคุณค่าร่วมทางเศรษฐกิจ
2.1.2 มีความรู้ และความเข้าใจ ในการสร้างคุณค่าร่วมทางเศรษฐกิจในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษา เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อธุรกิจและสังคม
2.1.3 เรียนรู้และออกแบบกิจกรรมทางสังคมที่เชื่อมโยงคุณค่าที่ได้รับร่วมกันระหว่างธุรกิจและสังคม โดยบูรณาการที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ
2.1.4 มีความเข้าใจในวิธีการพัฒนาความรู้ใหม่ๆและการประยุกต์ใช้ที่ตระหนักถึงผลกระทบต่อธุรกิจและสังคมในระยะยาว
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล 
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ
 3.1.2 มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
 3.1.3  สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
 3.1.4 ใช้ประสบการณ์ทางภาคปฏิบัติมาหาแนวทางใหม่ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.2.4   การสะท้อนรูปแบบจากการนำเสนอผลงาน
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.5   สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่นาเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานแนวคิดที่หลาหลาย
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1  จัดกิจกรรม มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 ึ7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BBABA205 การสร้างคุณค่าร่วมกลยุทธ์ธุรกิจเพื่อสังคม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน 1-17 10%
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค งานที่มอบหมาย 9 18 30 % 30%
3 ทักษะทางปัญญา วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงานการทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10% 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ สังเกตพฤติกรรมจากการทำงาน สังเกตจากงานที่มอบหมาย 2-17 รวมอยู่ในกิจกรรมที่ 3
5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การค้นคว้าข้อมูล ความสมบูรณ์ ของผลงานที่มอบหมาย 2-17 รวมอยู่ในกิจกรรมที่ 3
พิพัฒน์ ยอดพฤติการ. (2559). “Shared Value Enterprise.”สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2561.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทร์. (2552). “การจัดการเชิงกลยุทธ์.” กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์.(2555). “หลักการตลาด”กรุงเทพฯ : ท้อป.
     รพีพรรณ วงศ์ประเสริฐ.การสร้างคุณค่าร่วม แนวปฏิบัติที่ดีสู่สังคม.มหาวิทยาลัยกรุงเทพ: ปีที่33
ฉบับที่3, 2556
         Porter, M.E. and Kramer, M.R. (2006) The Link between Competitive Advantage and Corporate Social Responsibility. Harvard Business Review
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ