เครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน

Native Pottery

รู้ประวัติความเป็นมาของเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน เข้าใจแนวคิดในการผลิตเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน  แหล่งโบราณคดีและชุมชนเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน กระบวนการผลิตเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน ปัจจัยที่มีผลต่อการคงอยู่และการล่มสลายของเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน การอนุรักษ์และพัฒนาเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้านแหล่งโบราณคดีและชุมชนเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน การออกแบบเซรามิก การตกแต่งเซรามิก และการสร้างต้นแบบ
 ศึกษาประวัติความเป็นมาของเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน เข้าใจแนวคิดในการผลิตเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน  แหล่งโบราณคดีและชุมชนเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน กระบวนการผลิตเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน ปัจจัยที่มีผลต่อการคงอยู่และการล่มสลายของเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน การอนุรักษ์และพัฒนาเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน
2  ชั่วโมง ต่อสัปดาห์และตามที่นักศึกษาแจ้งความประสงค์
ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
มีจิตอาสาจิตสำนึกสาธารณะ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
 2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง  2.1.2  มีความสามารถในการค้นคว้ากัปัญหาและพัฒนาทางด้านเซรามิกอย่างเป็นระบบ  2.1.3  มีความรู้ในทางเซรามิกที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคมภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และศึกษาดูงาน
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.1.1  มีสามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน 3.1.2  สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 3.1.3  มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการทำเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน 3.3.2  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ดี 4.1.4   สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตะรางมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล 4.2.2   การนำเสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 4.3.2   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง  
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. คุณหญิงแพร (นามแฝง)  (2538). คนรักเซรามิก: ดอบ  กามสูตร อลังการแห่งอาณาจักรพ่อกูฯ  เซรามิกส์. 1(2). 82-85 2. จิรวรรณ  สุขพัฒน์. (2543). Hotline Ceramic : ศุภรัตน์  สีตะธรรมาภรณ์ ฤาว่าจะหมดยุคโอ่งมังกร  เซรามิกส์. 5(11). 66-69 3. เฉลียว  ปิยะชน. (2544). มรดกเครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพฯ :เมืองโบราณ. 4. ชุดา  สีโนนม่วง..(2538). คนรักเซรามิก : โถยอดทอง หนึ่งในของหวงบ้านศิริฤกษ์รัตนา..เซรามิกส์. 1(3). 87-89 5. ชุดา  สีโนนม่วง..(2538). ทัวร์เซรามิก : เที่ยวเมืองโคราช เปิดประตูสู่แดนอีสาน..เซรามิกส์. 1(3). 47-49 6. เปี่ยมสุข  เหรียญรุ่งเรือง. (มปป.)  ประวัติศาสตร์เครื่องปั้นดินเผา เล่ม 1 ยุคโบราณและตะวันออกไกล. (เอกสารคำสอนประกอบรายวิชาประวัติเครื่องเคลือบดินเผา) คณะมัณฑนะศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 7. ปราสาท วงสกุล  ทองดุลย์  ธนะรัชต์  วิฑูรย์  ยะสวัสดิ์  สุจินต์  พิทักษ์  และดาวรุ่ง  พรสาธิต. (2538). สเปเชี่ยล : เบญจรงค์ไทย  เซรามิกส์. 1(2). 22-42 8. วิรุณ  ตั้งเจริญ. (2537). ออกแบบ2มิติ. (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 9. เวนิช สุวรรณโมลี. (2540). Ceramic Tour : ไปดูเขาทำกระถางที่นครชัยศรี  เซรามิกส์. 3(8). 56-59 10. พิมพ์วัลคุ์  วัฒโนภาส. (2543). Collection : อีกมุมมองของเครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียง  เซรามิกส์. 5(11). 92-93 11. สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร. (2539). โบราณคดีวิเคราะห์2 : เครื่องถ้วยบุรีรัมย์และเครื่องถ้วยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: ดอกเบี้ย. 12. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2538). ดิน : เครื่องปั้นดินเผา. เซรามิกส์. 1(1). 22-41 13. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2538). สเปเชี่ยล : เครื่องลายคราม..เซรามิกส์. 1(3). 22-45 14. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2543). Special : โอ่งมังกรราชบุรี  เซรามิกส์. 5(11). 36-48 15. อำพน  วัฒนรังสรรค์. (2540). Special : เตาเผาเซรามิก  เซรามิกส์. 3(8). 29-49 16. Ceramic Art & Crafts. (february 1998). 17. Clack, G. (1990). Book of Cup. (1 st ed.). Newyork: Abbaville Press Publishers. 18. French, N. (1998). The Potter’s Directory of Shape and Form. Singapore: Page One. 19. Juracek, J. A. (1996). Surfaces. London: Thames and Hudson Ltd. 20. Macintosh, D. (1988). Chinese Blue & White Porcelain. (Reprinted). Hong Kong: Book Marketing Ltd. 21. Shafer, T. (1977). Pottery Decoration. (2 rd ed.). Newyork: Watson-Guptill Publications. 22. Spours, J. (1988).  Art Deco Tableware. (1 st ed.). Newyork: Rizzoli. 23. Wong; W. (1972). Principles of Two-Dimensional Design. New york: Van Nostrand Reihold Company. 24. Wong; W. (1977). Principles of Three-Dimensional Design. New york: Van Nostrand Reihold Company