การพันหม้อแปลงและมอเตอร์

Transformer and Motor Winding

.1 สามารถปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำบอบบิ้น การพันหม้อแปลงขนาดเล็กได้ 1.2 สามารถหาลำดับขั้วการต่อหม้อแปลงเฟสเดียวกับระบบไฟสามเฟสได้ 1.3 สามารถถอดประกอบมอเตอร์ได้ 1.4 สามารถเขียนเขียนไดอะแกรม คำนวณพร้อมพันมอเตอร์สปลิตเฟส มอเตอร์สามเฟส และมอเตอร์พัดลมได้
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการทำงานหม้อแปลงคำนวณหาค่าพารามิเตอร์หม้อแปลง โครงสร้างส่วนประกอบของมอเตอร์เหนี่ยวนำ หลักการทำงานของสปลิตเฟสและมอเตอร์สามเฟสวิธีเขียนสเตเตอร์ไดอะแกรมแบบต่างๆ คำนวณพันมอเตอร์เหนี่ยวนำ ปฏิบัติเกี่ยวกับการทำบ๊อบบิ้น การพันหม้อแปลงขนาดเล็กหาลำดับขั้ว ต่อหม้อแปลงเฟสเดียวกับระบบไฟสามเฟส การถอดประกอบมอเตอร์ ฝึกเขียนไดอะแกรม คำนวณพร้อมพันมอเตอร์ สปลิตเฟส มอเตอร์สามเฟส และมอเตอร์พัดลม
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการท าบ๊อบบิ้น การพันหม้อแปลงขนาดเล็ก การหาล าดับขั้ว การต่อหม้อแปลงเฟสเดียวกับระบบไฟสามเฟส การถอดประกอบมอเตอร์ ฝึก เขียนไดอะแกรม ค านวณพร้อมพันมอเตอร์สปลิตเฟส มอเตอร์สามเฟส และ มอเตอร์พัดลม Practice of making bobbin lace, wiring of small transformer, sequencing the terminal, connect single-phase transformers with three-phase power systems, dismantling the motors, writing diagrams, calculation and wiring of split-phase motors, three-phase motor and fan motor.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม 
š1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะ ให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึก ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
1.3.1 การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปรายเกี่ยวกับหลักทางทฤษฎี โดยเน้นการการสอนแบบออนไลน์และประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยสอดคล้องกับหารพันหม้อแปลงขนาดเล็กและมอเตอร์ไฟฟ้า รวมถึงการทดสอบการทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้าและมอเตอร์ วิธีการวิเคราะห์ผลการศึกษา เครื่องมือที่ใช้สำหรัลบเคราะห์ผลการศึกษา การคำนวณต่างๆ และมีวิดีโอสำหรับการศึกษาด้วยตัวเอง
 
2.3.1 การทดสอบย่อย 2.3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นปฏิบัติ 2.3.3 ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 ให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเขียนขั้นตอนการทำงาน วิธีการแก้ปัญหาจากใบงานและกรณีศึกษาการพันหม้อแปลงและมอเตอร์ 3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์ผลการพันหม้อแปลงและมอเตอร์ การทดสอบหม้อแปลงและมอเตอร์
โดยเน้นการสอนแบบออนไลน์บน MS Team, Line, Zoom
3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา 3.3.2 วัดผลจากการนำเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย 3.3.3 สัมภาษณ์ และสังเกตพฤติกรรม การแก้ไขปัญหา
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 กำหนดกิจกรรมที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ 4.2.2 กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม นำเสนอแนวคิด และผลงาน 4.2.3 มีการมอบหมายงาน และให้ส่งตามกำหนดเวลา
4.3.1 ประเมินจากรายงานกลุ่มที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม 5.1.2  สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
5.2.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
5.3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
5.3.2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
6.1.1 แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์ 6.1.2 แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึงประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมีนวัตกรรม
6.2.1 สาธิตการปฏิบัติกา
6.2.2 ลงมือในการปฏิบัติงาน
6.3.1 ประเมินจากกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน
6.3.2 ประเมินผลทักษะในการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDEE103 การพันหม้อแปลงและมอเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.2, 1.1.3, 4.1.3 1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการแต่งตัว ความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 2) ประเมินจาก การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3) ประเมินจาก ปริมาณการกระทำทุจริต ในด้านการส่งงาน การนำเสนอผลงานและการสอบของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3 1) ทดสอบปฏิบัติย่อยครั้งที่ 1 2) สอบกลางภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและปฏิบัติ 3) ทดสอบปฏิบัติย่อยครั้งที่ 1 4) สอบปลายภาค สอบกลางภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและปฏิบัติ 4, 8, 12, 17 5%, 20%, 5%, 20%
3 3.1.1 1) วัดผลจากทักษะในการลงมือปฏิบัติตามใบงานตามที่ได้รับมอบหมายและคุณภาพของใบงานที่ทำเสร็จแล้ว 2) ประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแก้ปัญหาจาก Case Study ที่มอบหมาย (Flip Study) ตลอดภาคการศึกษา 20%, 10%
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ