เทคนิคการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ขั้นสูงสำหรับการวิจัยทางพืช

Techniques with Advanced Instruments and Equipments for Plant Research

วัตถุประสงค์ของรายวิชา   :  เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1. เข้าใจสาระสำคัญของการใช้ห้องปฏิบัติการและอุปกรณ์ เพื่อการศึกษาวิจัย ทางพืช
2. เข้าใจ ชนิดประเภทของเครื่องมืออุปกรณ์ และเข้าใจหลักการทำงานของเครื่องมือ การ
   ปรับค่ามาตรฐาน (standard calibration) การบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจน
   การบำรุงรักษาเครื่องมือ
3. วิเคราะห์และตัดสินใจเลือกใช้เครื่องมืออุปกรณ์ชั้นสูงเพื่อการศึกษาวิจัย ทางพืชได้ถูกต้อง
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการ หลักการทำงานและการบำรุงรักษาเครื่องมือเพื่อการวิจัย การบันทึกข้อมูล การโอนถ่ายข้อมูล การวิเคราะห์และการแปรความหมาย การเลือกใช้เครื่องมือที่ถูกต้องเพื่อการวิจัยอ
           การศึกษาชนิดและประเภทของเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์เกษตรสาขาพืชศาสตร์เพื่อการวิจัย หลักการทำงานของเครื่องมือเทคนิคและวิธีการใช้   เทคนิคการปรับค่าให้ได้มาตรฐาน ข้อเด่นและข้อจำกัดในการใช้งาน การเลือกใช้เครื่องมือให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของงาน การบำรุงรักษาเครื่องมือ การบันทึกข้อมูล การแปรข้อมูล และการสรุปผล
Study on kinds and types of advanced scientific instruments             and
equipment used for crop research in agriculture, principle function, technique and method for operation, calibration and standardization, advantages and disadvantages of each instrument for specific purpose, maintenance, data collection, interpretation of obtained data and conclusion of results.
วันจันทร์  พุธ  ศุกร์  เวลา       9.00 – 16.00  น.  ห้องพักอาจารย์
              อาคารปฏิบัติการ  วิทยาศาสตร์กลาง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร  โทร. 0817836212
   E-mail      phongytuh@hotmail.com     เวลา 20.00 – 24.00  น. ทุกวัน 
™  1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
™1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
™1.5 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
™ 1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.  ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม  ในชั้นเรียน
2. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1. การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
2. ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
˜  2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
š  2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
š 2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1. ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม
2. การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)
3. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา  และสื่อสารสนเทศ  เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคลอ
3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
š 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
3.  การสอนแบบบรรยาย ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและความสำคัญของหัวข้อที่นักศึกษาสนใจศึกษา และระดมสมองในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญห
1. ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล
4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
 š  4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
  ˜ 4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
  ˜ 4.4  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1.การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1. ร่วมกันทำรายงานและให้นำเสนองานกลุ่มร่วมกัน
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication and Information Technology Skills)
  š  5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  ˜ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
  ˜  5.3  สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ  
1. ความก้าวหน้าของผลงานเขียนทางวิชาการที่ค้นคว้าที่ให้ปฏิบัติตามหัวข้อในแผนการสอน
 
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการเขียนรายงานและนำเสนอรายงานสัมมนาวิชาการแบบปากเปล่า
ส่งรายงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญาอ 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 MSCPT102 เทคนิคการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ขั้นสูงสำหรับการวิจัยทางพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.3,1.4,2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3,3.4,4.1,4.2,4.3,4.4,5.1,5.2,5.3,5.4 การสอบกลางภาค 9 30%
2 1.4,2.4,3.4,4.4,5.4,6.4,7.4,8.4,9.4,10.4,11 รายงานกลุ่ม 6, 11,13และ 17 20%
3 6.1,6.2,6.3,7.1,7.2,7.3,8.1,8.2,8.3,9.1,9.2,9.3,10.1,10.2,10. การสอบปลายภาค 18 30%
4 1.1,1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-17 10%
5 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-17 5%
6 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 6, 11,13และ 17 5%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
Amthor, J. S. 1989. Respiration and Crop Productivity. Springer-Verlag New York Inc. USA. 215p.
Alvim, P. de T. and T. T. Kozloski. 1977.  Ecophysiology of Tropical Crops. Academic Press. London. UK.
Bacon, M.A. (ed.), Water Use Efficiency in Plant Biology.  Blackwell Publishing, CRC Press, Oxford, UK. 344 pp.
Bewley, J. D. 1981. Nitrogen and Carbon Metabolism. Proceeding of a Symposium on the Physiology and Biochemistry of Plant Productivity. held on July 14-17, 1980 in Calgary, Canada. 248 p.
Coombs, J. and D.O. Hall. 1982. Techniques in Bioproductivity and Photosynthesis. Pergamon Press Ltd. England.171 p.
Dawson, P. 1994. Handbook of Horticultural Students. RPM Reprographics Ltd, Chichester, West Sussex, UK.
Halevy, A. H. (ed.) 1986 Handbook of Flowering, Vol. 5. CRC Press, Boca Raton, Florida, USA
Hall, D.O.; Scurlock; J. M. O., Bolhar-Nordenkampf; H. R., Leegood R.C. and S.P. Long. 1993. Photosynthesis and Production in a Changing Environment: A Field and Laboratory Manual. Chapman & Hall. London, England. 464 p.
Hunt, R. 1978. Plant Growth Analysis. Studies in Biology no. 96 Edward Arnold, London, UK. 67 pp.
Hunt, R. 1982. Plant Growth Curves: The Functional Approach to Plant Growth Analysis. Edward Arnold, London, UK.  248 pp.
Hunt, R. 1990. Plant Growth Analysis: Plant Growth Analysis for Beginners. Unwin Hyman, London, UK. 112 pp.
Jones, H. G. 1992. Plants and Microclimate: A Quantitative Approach to Environmental Plant Physiology. 2nd edition. Cambridge University Press. 428 p.
Levitt, J. 1980. Responses of Plants to Environmental Stresses. Volume II: Water, Radiation, Salt, and Other Stresses. 2nd edition. University of Wisconsin, USA. 471 p.
Lindsey, K. (ed.), 2004. Polarity in Plant. Blackwell Publishing, CRC Press, Oxford, UK. 346 pp.
Loveless, A. R., 1983. Principles of Plant Biology for Tropics. Longman, New York. USA. 532pp.
Marshall, B and F. I. Woodward. 1985. Instrumentation for Environmental Physiology. Cambridge University Press. England. 241 p.
Noggle, R. A. and G. J. Fritz. 1983. Introductory Plant Physiology. Prentice-Hall, Inc. New Jersey, USA. 627pp.
Papageorgiou, E. and G. C. Govingee, 2004. Chlorophyll a Fluorescence : a Signature of Photosynthesis. Advance in Photosynthesis and Respiration vol. 19, Springer-Verlag, Dordrecht, The Netherlands. 820 pp.
Pessarakli, M. 1994. Handbook of Plant and Crop Physiology. Marcel Dekker, Inc. New York, USA. 1004 p.
Pessarakli, M. (ed.) 1997. Handbook of Photosynthesis. Marcel Dekker, Inc. New York, USA. 1027pp.
Ploetz, R. C., Zentmyer, G. A., Nishijima, W. T., Rohrbach, K. G. and H. D. Ohr. 1994. Compendium of Tropical Fruit Diseases. The American Phytopathological Society Press, St. Paul, Minesota, USA.
Schaffer, B., Anderson, P. C. and R. C Ploetz. 1992. Responses of Fruit Crops to Flooding. Hort. Rev. 12, 257 – 313.
Schaffer, B. and P. C. Anderson. (eds.) 1994. Handbook of Environmental Physiology of Fruit Crops, Vol. II., Subtropical and Tropical Crops. CRC Press, Boca Raton, Florida, USA.
Schumacher, R, 1989. Die Fruchtbarkeit der Obstgehölze: Ertragsregulierung und Qualitätsverbesserung. Eugen Ulmer Verlag, Stuttgart, Germany. 242 pp.
Ulrich, L. 1997. Physiological Ecology of Tropical Plants. Springer-Verlag Berling Heidelberg, Germany. 384 p.
Wier, R. G. and G. C. Cresswell. 1995.  Plant Nutrient Disorders 2. Tropical Fruit and Nut Crops. Inkata Press, Melbourne, Australia.
Zamski, E. and A. A. Schaffer. 1996. Photoassimilate Distribution in Plants and Crops: Source-Sink Relationships. Marcel Dekker, Inc. New York, USA. 905 p.
 
คณาจารย์ภาควิชาพฤกษศาสตร์. 2541. ปฏิบัติการพฤกษศาสตร์ทั่วไป. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จักรี เส้นทอง. . 2540. พลวัตผลผลิตพืช.  โรงพิมพ์มิ่งเมือง เชียงใหม่. 276 น.
สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์. 2535. ชลศาสตร์ในระบบดิน-พืช. ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. นครปฐม. 200 น.
Dawson, P. 1994. Handbook of Horticultural Students. RPM Reprographics Ltd, Chichester, West Sussex, UK.
Halevy, A. H. (ed.) 1986 Handbook of Flowering, Vol. 5. CRC Press, Boca Raton, Florida, USA
Smith, J. A. C. and H. Griffiths, 1993. Water Deficits: Plant Responses from Cell to Community. BIOS Scientific Publishers Limited. UK. 345 p.
รายงานวิจัยเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช
บทความเกี่ยวกับสรีรวิทยาการผลิตพืช จากเวบไซต์ต่างๆ  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ   กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป