เทคโนโลยีหลังพิมพ์

Post-press Technology

1. รู้และเข้าใจกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูป เทคนิคงานทำสำเร็จด้วยเครื่องจักรและเทคโนโลยี
2. รู้และเข้าใจการตรวจสอบ วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับงานหลังพิมพ์
3. มีทักษะในการใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีงานหลังพิมพ์สำหรับตกแต่งและเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งพิมพ์
-
          ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูป เทคนิคงานทำสำเร็จสำหรับตกแต่งสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งพิมพ์ ตลอดจนสามารถตรวจสอบ วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นของงานหลังพิมพ์
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
รายวิชาที่สอน สร้างให้นักศึกษารั้กหน้าที่ในการทำงานที่ได้รับมอบหมายทั้งต่อตนเองและสังคม
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
                2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูป เทคนิคงานทำสำเร็จด้วยเครื่องจักรและเทคโนโลยี ตลอดจนการตรวจสอบ วิเคราะห์แก้ปัญหางานหลังพิมพ์
            2. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียนรูและการซักถามตอบข้อปัญหาที่นักศึกษาไม่เข้าใจ สาธิตและนักศึกษาฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติงาน
การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน และการทดสอบย่อย ประเมินผลจากรายงานและผลงานปฏิบัติ ประเมินผลจากการนำเสนอและรายงานในชั้นเรียน
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล การนำเสนองานแบบเดี่ยวหรือกลุ่ม
1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน
            2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน
            3. การปฏิบัติงานถูกต้องตามหลักการ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
            1. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
            2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอดแทรกการมีมนุษยสัมพันธ์ มารยาททางสังคมให้กับนักศึกษา นักศึกษาสามารถแสดงความคิดเห็นและยอมรับข้อคิดเห็นที่แตกต่างกันในการนำเสนองานได้ สร้างให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
            1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงาน ตลอดจนการร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆ ภายในกลุ่ม
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
            1. บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน
            2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์
            1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
            2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
1 ทักษะพิสัยที่ต้องได้รับ
            1. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
            2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1. ใบงานที่มอบหมายให้ปฏิบัติ
            2. บรรยายและสาธิตในภาคปฏิบัติ
1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน
            2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูป เทคนิคงานทำสำเร็จด้วยเครื่องจักรและเทคโนโลยี ตลอดจนการตรวจสอบ วิเคราะห์แก้ปัญหางานหลังพิมพ์ 2. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 1. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 1. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1 BTEPP133 เทคโนโลยีหลังพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ 1. การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน และการทดสอบย่อย 2. ประเมินผลจากรายงานและผลงานปฏิบัติ 3. ประเมินผลจากการนำเสนอและรายงานในชั้นเรียน 8, 17 ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 ทักษะทางปัญญา 1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน 2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน 3. การปฏิบัติงานถูกต้องตามหลักการ ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงาน ตลอดจนการร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆ ภายในกลุ่ม 1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงาน ตลอดจนการร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆ ภายในกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม 2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 ทักษะพิสัย 1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน 2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. คะนอง  รุ่งจาตุรนต์ วรรณา สนั่นพานิชกุล และอมรพรรณ  ซุ้มโชคชัยกุล. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วย
การเย็บด้าย. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
2. จันทร  วรากุลเทพ อัจฉรา  กลีบงาม และคณะ. เทคนิคการประดิษฐ์และสร้างสรรคสมุดทำมือ 3.
    สมุดปกอ่อน. หจก. ซี.อาร์.เอส. ยูนิเวอร์แซล (1986), นนทบุรี.
3. จันทร  วรากุลเทพ อัจฉรา  กลีบงาม และคณะ. เทคนิคการประดิษฐ์และสร้างสรรคสมุดทำมือ 4.      
    สมุดปกอ่อน. หจก. ซี.อาร์.เอส. ยูนิเวอร์แซล (1986), นนทบุรี.
4. จันทร วรากุลเทพ อัจฉรา กลีบงาม และคณะ. สมุดทำมือ 13 วิธีทำสมุดด้วยตนเอง. หจก.ซี.อาร์.เอส. 
   ยูนิเวอร์แซล (1986), นนทบุรี.
5. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยการทากาว. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
6. บุญชู ศิริสกาวกุล และสุรเดช  เหล่าแสงงาม. เทคนิคงานหลังพิมพ์ 1. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
7. บุญชู ศิริสกาวกุล และสุรเดช  เหล่าแสงงาม. เทคนิคงานหลังพิมพ์ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
8. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยเครื่องไสสันทากาว. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
9. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. การทำรูปเล่มหนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
10. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์.  งานหลังพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2552 ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2548.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
11. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์.  วัสดุทางการพิมพ์ในงานหลังพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539 ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
12. พันเอกอุดม  ควรผดุง. งานเดินรอยร้อน งานดุนนูน และงานอัดตามแม่แบบหลังพิมพ์. ครั้งที่ 1 พ.ศ.
     2541. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
13. มานิตา  เจริญปรุ. ลงมือทำสมุด. หจก.ภาพพิมพ์ 296, กรุงเทพฯ.
14. วีระ  โชติธรรมาภรณ์. งานหลังพิมพ์. ISBN 974-421-041-9  พ.ศ. 2542. โปรแกรมวิชาการพิมพ์  
    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.
15. วันชัย  ใจสุภาพ. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยเครื่องเย็บด้าย. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
16. วันชัย  ใจสุภาพ. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยเครื่องเย็บด้าย. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
17. สมาพร  คล้ายวิเชียร. วิวัฒนาการงานหลังพิมพ์. http://www.samaporn.com/?p=1239, สืบค้นวันที่
    4 ต.ค. 2559.
18. สุภาวดี  เทวาสะโณ. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานหลังพิมพ์.  พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
19. สุภาวดี  เทวาสะโณ. การเคลือบวาร์นิชและการลามิเนตในงานหลังพิมพ์สำหรับสิ่งพิมพ์กระดาษ.
    พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
    นนทบุรี.
20. สุภาวดี  เทวาสะโณ. สารยึดติด.  พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2542. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
21. เสริมศรี ปุณยรัตน์ และ วิบูลย์  อุปถัมภกสุกล. การตรวจสอบคุณภาพงานสิ่งพิมพ์และการบำรุงรักษา
    เครื่องจักร. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
22. หลักการงานหลังพิมพ์สำเร็จรูป.www.tei.or.th/.../120801-31-3_Draft_PCR_Press%20and%20post%,
     สืบค้นวันที่ 4 ต.ค. 2559.
23. อมรพรรณ  ซุ้มโชคชัยกุล. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยการเย็บลวด. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
24. อมรพรรณ  ซุ้มโชคชัยกุล. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยเครื่องเย็บลวด. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ