การออกแบบระบบไฟฟ้า

Electrical System Design

 1.1 เข้าใจหลักการเบื้องต้น มาตรฐาน ระบบการส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า
 1.2 เข้าใจการเลือกสายไฟฟ้า ท่อร้อยสาย  บริภัณฑ์ประธาน
 1.3 เข้าใจการหาขนาดวงจรย่อย  สายป้อน   สายประธาน
 1.4 เข้าใจการต่อลงดิน และกระแสลัดวงจร
 1.5 เข้าใจการปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
 1.6 เข้าใจระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน การป้องกันฟ้าผ่า
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป  รวมทั้งแนวคิดในการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังที่ปรับปรุงให้ทันสมัยต่อเทคโนโลยีในระบบต่าง ๆ
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการออกแบบระบบไฟฟ้า มาตรฐานและข้อกำหนด ผังการจ่าย กำลังไฟฟ้า สายไฟฟ้า และทางเดินสาย อุปกรณ์ไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า การคำนวณ โหลด การปรับปรุงตัวประกอบกำลังและการออกแบบชุดตัวเก็บประจุ การออกแบบ วงจรแสงสว่างและวงจรเครื่องใช้ไฟฟ้า การออกแบบวงจรมอเตอร์ไฟฟ้า ตารางโหลด สายป้อนและสายประธาน ระบบไฟฟ้า ระบบไฟฉุกเฉิน การคำนวณกระแสลัดวงจร การต่อลงดินสำหรับระบบไฟฟ้า
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) 
        1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
        1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
        1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
        1.1.4 ไม่เน้น
        1.1.5 ไม่เน้น
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
        1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
        1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
        1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
        1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
     1. ให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา  การแต่งกาย
     2. พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา  
     3. การแสดงออกกับการมีส่วนร่วมในห้องเรียน
        2.1.1 ไม่เน้น
        2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
        2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
        2.1.4 ไม่เน้น
        2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
    
         1. ให้นักศุึกษามีส่วนร่วมในการเรียน โดยให้หัวข้ออภิปราย
         2. ค้นคว้าในหัวข้อเพิ่มเติม ที่ทันสมัย
         3. มอบงานทำเพิ่ม ในการออกแบบโดยเป็นอาคารจริง
         4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  แก้ไข
     1. ทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติออกแบบจริง
     2. การทดสอบย่อย
     3. พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย
          3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
          3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
          3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          3.4 ไม่เน้น
          3.5 ไม่เน้น
        3.2.1 ให้นักศึกษาค้นคว้าจากอุปกรณ์จริง  ในเรื่องหลักการทำงาน  วงจรการต่อ  คำนวณออกแบบจากสถานที่จริง
        3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
        3.3.3 ให้นักศึกษาคำนวณออกแบบจากสถานที่จริง
         1. จากการสังเกตุการอภิปราย  และการสัมภาษณ์
         2. การทดสอบ
         3. จากการปฎิบัติการออกแบบจริง
        4.1.1 ไม่เน้น
        4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
        4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
        4.1.4 ไม่เน้น
        4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
        4.2.1 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
        4.2.2 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปรายและเสวนางานที่มอบหมายที่ให้ค้นคว้า
        4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
        4.3.2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
        4.3.3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา
        4.3.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
        4.3.4 การมีส่วนร่วมในการเรียน
        5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
        5.1.2 ไม่เน้น
        5.1.3 ไม่เน้น
        5.1.4 ไม่เน้น
        5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
1. คำนวณออกแบบเพื่อหาขนาดอุปกรร์ไฟฟ้า
         2. นำเสนอแนวคิดในการออกแบบ
         3. ใช้โปรแกรมคอมพิงเตอร์ร่วมในการออกแบบ
          1. ประเมินจากแนวคิดในการออกแบบ

          2. ทดสอบการคำนวณหาคาอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
        6.1.1 ไม่เน้น
        6.1.2 ไม่เน้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE126 การออกแบบระบบไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-4 สอบ 9 35%
2 บทที่ 5-7 สอบ 17 35%
3 ทุกบท ตรวจจากงานที่มอบหมาย 1-16 20%
4 คุณธรรมจริยธรรม เช็คชื่อ 1-16 10%
ลำดับ ชื่อหนังสือ ผู้แต่ง 1 การออกแบบระบบไฟฟ้า ประสิทธิ์  พิทยพัฒน์ 2 การออกแบบระบบไฟฟ้า ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช 3 การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าตาม
มาตรฐานของการไฟฟ้า (ฉบับปรับปรุง) ลือชัย  ทองนิล 4
5
6  หลักการและเทคนิคการออกแบบระบบไฟฟ้า
 คู่มือวิศวกรไฟฟ้า
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย ศุลี  บรรจงจิต
ลือชัย  ทองนิล
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

 
แบบอาคาร   แคตล็อก    โปรแกรมการออกแบบ
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย
มาตรฐานชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง