แมลงศัตรูพืชและการควบคุม

Plant Insect Pests and Their Controls

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับความสำคัญของแมลงศัตรูพืช กายวิภาคการเจริญเติบโตและการถอดรูปของแมลง การจำแนกอันดับของแมลงแมลงศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจรวมทั้งหลักการควบคุม แมลงศัตรูพืชด้วยวิธีการต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพที่ทันสมัยให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัยและสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาความสำคัญของแมลงศัตรูพืช กายวิภาคการเจริญเติบโตและการถอดรูปของแมลง การจำแนกอันดับของแมลงแมลงศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจรวมทั้งหลักการควบคุม แมลงศัตรูพืชด้วยวิธีการต่างๆ
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของพื้นที่
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.2   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของแมลงศัตรูพืชที่มีผลต่อทางการเกษตร การแพร่ระบาด ลักษณะการเข้าทำลาย และการวินิจฉัย จากอาการที่ปรากฏ การคาดคะเนการระบาด การควบคุมศัตรูพืชด้วยวิธีการต่างๆ และสามารถนำความรู้หลายสาขามาประยุกต์ในการดำรงชีพได้
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียนเพื่อพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาบนพื้นฐานการใช้นวัตกรรม และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำเทคโนโลยีการนำเสนอที่เหมาะสม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
4.1.1   การมีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่ม
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.1.2   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG111 แมลงศัตรูพืชและการควบคุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 และ 2.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 18 20% 20%
2 1.2 และ 3.1 รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาแปลงปลูกพืชตัวอย่าง ตลอดภาคการศึกษา 5%
3 4.2 และ 5.2 นำเสนอรายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาแปลงปลูกพืชตัวอย่าง ตลอดภาคการศึกษา 5%
4 1.2 การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 เก็บตัวอย่างแมลง ตลอดภาคการศึกษา 15
6 2.1, 2.2 และ 3.1 ปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 25%
มาลี ตั้งระเบียบ. 2544. กีฏวิทยาเบื้องต้น .เอกสารประกอบการสอน วิชากีฏวิทยาเบื้องต้น . สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
มาลี ตั้งระเบียบ. 2561. หลักการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ. เอกสารคำสอน รหัสวิชา 21011347 วิชา หลักการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ. สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. 388 หน้า
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเฟรซบุ๊คที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ