การตลาดระหว่างประเทศ

International Marketing

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจบทบาทและความสำคัญของการตลาดระหว่างประเทศ แนวความคิดการทำการค้าระหว่างประเทศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตลาดระหว่างประเทศ ลักษณะและประเภทของการตลาดระหว่างประเทศ กระบวนการการตลาดระหว่างประเทศ กลยุทธ์การจัดส่วนประสมการตลาดระหว่างประเทศ การใช้ข้อมูลทางการตลาดระหว่างประเทศ
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจบทบาทและความสำคัญของการตลาดระหว่างประเทศ แนวความคิดการทำการค้าระหว่างประเทศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตลาดระหว่างประเทศ ลักษณะและประเภทของการตลาดระหว่างประเทศ กระบวนการการตลาดระหว่างประเทศ กลยุทธ์การจัดส่วนประสมการตลาดระหว่างประเทศ การใช้ข้อมูลทางการตลาดระหว่างประเทศ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจทางการตลาดเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไรได้
ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการตลาดระหว่างประเทศ แนวความคิดการทำการค้าระหว่างประเทศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตลาดระหว่างประเทศ ลักษณะและประเภทของการตลาดระหว่างประเทศ กระบวนการการตลาดระหว่างประเทศ กลยุทธ์การจัดส่วนประสมการตลาดระหว่างประเทศ การใช้ข้อมูลทางการตลาดระหว่างประเทศ
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล                          การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 7 15 30% 40%
2 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1.1 , 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์. การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : 2543.
กิตติ ภัคดีวัฒนะกุล และ ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. คัมภีร์การพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : เคทีพี, 2547.
ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. การจัดการระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ทฤษฎีและกลยุทธ์ทางการบริหาร. กรุงเทพฯ :  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
ชาติ กิตติคุณาภรณ์. คู่มือการส่งออก (ภาคปฏิบัติ). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2542.
ฐาปนา ฉิ่นไพศาล. การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : ยงพลเทรดดิ้ง.
ทองแถม นาถจำนง. วิกฤติการณ์ยุค IMF กับอนาคตของชาติไทย. กรุงเทพฯ : มิ่งมิตร, 2541
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : ไทยเจริญการพิมพ์, 2552.
นันทสารี สุขโต. การตลาดระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2546.
นิตยสาร BrandAge, www.brandage.com
นันทนา สุขโต. การตลาดระดับโลก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2547.
ศศิวิมล สุขบท. การตลาดระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
สุดาพร กุณฑลบุตร. การตลาดระหว่างประเทศ. ฉบับปรับปรุงใหม่. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
สมพงษ์ เฟื่องอารมณ์. ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
สุเมธ เลิศจริยพร. การเรียนรู้วิธีดำเนินธุรกิจนำเข้าส่งออกครบวงจร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์    มหาวิทยาลัย, 2550.
สันติธร ภูริภัคดี และคณะ. การตลาดระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : Mc Graw Hill, 2550.
อภิรัฐ  ตั้งกระจ่าง.  การตลาดระหว่างประเทศ. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : 2546
อัควรรณ์  แสงวิภาค.  การตลาดระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์, 2547.
เอกสารการสอนชุดวิชา การตลาดระหว่างประเทศ. หน่วยที่ 1-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .
          พิมพ์ครั้งที่ 6. นนทบุรี, 2544.
เอกสารการสอนชุดวิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี, 2538.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ   การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ   การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา

 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2  การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2  พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2  การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4  การประเมินข้อสอบ  การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2  นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3  นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร