หลักการตลาด

Principles of Marketing

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจบทบาทและความสำคัญของการตลาดที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ พัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด กิจกรรมและหน้าที่ต่างๆ ทางการตลาด ระบบข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยการตลาด ลักษณะและพฤติกรรมการซื้อแต่ละตลาด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดส่วนประสมการตลาด การวางแผนกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมสำหรับแต่ละส่วนประสมเข้าใจการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกิจกรรมการตลาด จริยธรรมการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจบทบาทและความสำคัญของการตลาดที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ พัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด กิจกรรมและหน้าที่ต่างๆ ทางการตลาด ระบบข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยการตลาด ลักษณะและพฤติกรรมการซื้อแต่ละตลาด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดส่วนประสมการตลาด การวางแผนกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมสำหรับแต่ละส่วนประสมเข้าใจการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกิจกรรมการตลาด จริยธรรมการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจทางการตลาดเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไรได้
ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการตลาดที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ พัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด กิจกรรมและหน้าที่ต่างๆ ทางการตลาด ระบบข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยการตลาด ลักษณะและพฤติกรรมการซื้อแต่ละตลาด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดส่วนประสมการตลาด การวางแผนกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมสำหรับแต่ละส่วนประสมเข้าใจการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกิจกรรมการตลาด จริยธรรมการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม
 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล                          การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 7 15 30% 40%
2 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1.1 , 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
คณาจารย์สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 2550. หลักการตลาด.
พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธนาเพรส.
คณาจารย์สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 2555. หลักการตลาด.
พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.
ชาญชัย อาจินสมาจาร. 2551. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ปัญญาชน.
จันทิรา ธนสงวนวงศ์. 2559. “ความหายของวัฒนธรรม.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา
http://e-learning.e-tech.ac.th/ (19 พฤศจิกายน 59)
จินตนา บุญบงการ. 2558. จริยธรรมทางธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง-
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉัตยาพร เสมอใจ และ ฐิตินันท์ วารีวนิช. 2551. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรง
พิมพ์ วี.พริ้น (1991).
ดํารงศักดิ์ ชัยสนิท. 2537. พฤติกรรมผูบริโภค. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร.
ธนิต โสรัตน์. 2550. “การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ หรือ Multimodal Transport (MT)
คืออะไร.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.tanitsorat.com/view.php?id=52 (27 เมษายน 2550)
นภวรรณ คณานุรักษ์. 2559. กลยุทธ์การตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.
ณัฐยา สินตระการผล และ วีรวุธ มาฆะศิรานนท์. 2557. หลักคิดเรื่องกลยุทธ์และการแข่งขัน.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ส. เอเซียเพรส.
พิชัย ผกากอง. 2547. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พิบูล ทีปะปาล. 2534. หลักการตลาดยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตร
สัมพันธ์กราฟฟิค.
ภาวิณี กาญจนาภา. 2554. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ท้อป.
วารุณี ตันติวงศ์วาณิช นิภา นิรุติกุล สุนทรี เหล่าพัดจัน พรพรหม พรหมเพศ นิตยา งามแดน และ จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงษ์. 2554. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.
วิทวัส รุ่งเรืองผล. 2556. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์
ศิริ ภู่พงษ์วัฒนา. 2550. การจัดการช่องทางการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
โสภณการพิมพ์
สมคิด บางโม. 2558. จริยธรรมทางธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พัฒนวิทย์การพิมพ์.
สมศักดิ์ ณ โมรา. 2555. “ธุรกิจลูกโซ่เป็นแบบไหน.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา
https://www.gotoknow.org/posts/378207 (12 กุมภาพันธ์ 2555)
สุดาพร กุณฑลบุตร. 2552. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย. 2011. จรรยาบรรณของนักการตลาด. ครบรอบ 40 ปี
สุชิน นะตาปา. 2541. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
สุดาดวง เรืองรุจิระ. 2543. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ประกายพรึก.
สุพรรณี อินทร์แก้ว และ วาสนา เจริญสุข. 2555. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.
อนุรักษ์  ทองสุโขวงศ์. 2548. “การแยกประเภทต้นทุน.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา
https://home.kku.ac.th/anuton/cost%20accounting/cost%20split.htm
อภิรัฐ ตั้งกระจ่าง. 2545. การตลาดระหว่างประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เพชร
จรัสแสงแห่งโลกธุรกิจ.
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ   การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ   การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2  การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2  พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2  การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4  การประเมินข้อสอบ  การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2  นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3  นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร