การสำรวจและก่อสร้างอาคารฟาร์ม

Surveying and Farm Building Construction

พื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การสำรวจ และรังวัดทางการเกษตร ได้แก่การทำแผนที่ การวัดปริมาณพื้นที่ การทำระดับพื้นที่  การวางผังอาคารการเกษตร ชนิด และโครงสร้างอาคารการเกษตร การออกแบบโครงสร้างอาคารการเกษตร วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างอาคาร และการอ่านาแบบและเขียนแบบโครงสร้างอาคารการเกษตร การประมาณราคาในการก่อสร้าง การก่อสร้างอาคารการเกษตร อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารการเกษตร และการบำรุงรักษาอาคาร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการสำรวจและการก่อสร้างเพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ทฤษฎีและหลักการปฏิบัติสำหรับสำรวจรังวัดทางการเกษตร การวัดปริมาณต่าง ๆในการสำรวจ  การรังวัดวงรอบและการคำนวณการระดับ การทำแผนที่ฟาร์ม หลักการและแนวความคิดพื้นฐานในการออกแบบโครงสร้างอาคารการเกษตร องค์ประกอบของโครงสร้างอาคาร วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างอาคาร และการเขียนแบบโครงสร้างอาคารการเกษตร การกำหนดงบประมาณในการก่อสร้าง การวางผังการจัดรูปแบบแปลน ขั้นตอนการก่อสร้าง ระบบอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารไร่นา การบำรุงรักษาอาคาร
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ  
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  š2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  ˜3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  š4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)  2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)  3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)  4. การสอนฝึกปฏิบัติการ    5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)  6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  7. การสอนในห้องปฏิบัติการ    8. การสอนแบบบรรยาย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง  2.สถานการณ์จำลอง  3.การเขียนบันทึก  4.โครงการกลุ่ม  5.การสังเกต  6.การนำเสนองาน  7.การประเมินตนเอง  8.การประเมินโดยเพื่อน
1.  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  ™2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  ™3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)  2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)  3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)  4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)  5. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)   6. การสอนแบบ Tutorial Group  7. การสอนฝึกปฏิบัติการ    8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)  9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  10. การสอนในห้องปฏิบัติการ    11. การสอนแบบบรรยาย
1. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ  2. การประเมินตนเอง  3. การประเมินโดยเพื่อน
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  ™2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)  2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)  3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)  4. การสอนฝึกปฏิบัติการ    5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)  6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  7. การสอนในห้องปฏิบัติการ    8. การสอนแบบบรรยาย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง  2.สถานการณ์จำลอง  3.แฟ้มสะสมงาน  4.การเขียนบันทึก  5.โครงการกลุ่ม  6.นิทรรศการ  7.การสังเกต  8.การนำเสนองาน  9.การฝึกตีความ  10.ข้อสอบอัตนัย  11. ข้อสอบปรนัย  12.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ  13.การประเมินตนเอง  14.การประเมินโดยเพื่อน
1.  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  š2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ˜3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  š4.  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)  2. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)   3. การสอนแบบ Tutorial Group  4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)  5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  6. การสอนในห้องปฏิบัติการ    7. การสอนฝึกปฏิบัติการ    8. การสอนแบบบรรยาย
1. การสังเกต  2. การนำเสนองาน  3. การประเมินตนเอง  4. การประเมินโดยเพื่อน
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  š2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  ™3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้  Power point  2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล  4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  5. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.แฟ้มสะสมงาน  2.การเขียนบันทึก  3.โครงการกลุ่ม  4.นิทรรศการ  5.การสังเกต  6.การนำเสนองาน  7.การประเมินตนเอง  8.การประเมินโดยเพื่อน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3.
1 BSCFM120 การสำรวจและก่อสร้างอาคารฟาร์ม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค โดยการสอบตามหัวข้อผลการเรียนรู้ที่ได้กำหนดไว้ 7, 17 20%, 20%
2 1.3, 2.1, 3.1, 4.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.3, 4.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. คณาจารย์ผู้สอนวิชาทักษะช่างเกษตร.  2529.  ชุดแบบเรียนวิชาทักษะช่างเกษตร.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล,  กรุงเทพมหานคร. 
2. ประณต กุลประสูตร.  2525.  ช่างฝีมือเบื้องต้น 1(เทคนิคงานไม้).  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี,  ปทุมธานี. 
3. ประณต กุลประสูตร.  2527.  ช่างฝีมือเบื้องต้น 2(เทคนิคงานปูน-คอนกรีต).  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี,  ปทุมธานี. 
4. ประณต กุลประสูตร.  2527.  ช่างฝีมือเบื้องต้น 3(เทคนิคงานประปา).  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี,  ปทุมธานี. 
5. ประณต กุลประสูตร.  2527.  ช่างฝีมือเบื้องต้น 4(เทคนิคงานสี).  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี,  ปทุมธานี. 
6. พนม ภัยหน่วย.  2526.  เทคนิคงานไม้เบื้องต้น.  โอเดียนสโตร์,  กรุงเทพมหานคร. 
7. พิภพ สุนทรสมัย.  2527.ช่างปูนก่อสร้าง.  สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น),  กรุงเทพมหานคร. 
8. พิภพ สุนทรสมัย.  2528.  ปฏิบัติการเขียนแบบก่อสร้าง.  สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น),  กรุงเทพมหานคร. 
9. พิภพ สุนทรสมัย.  2534.  การประมาณราคาก่อสร้าง.  สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น),  กรุงเทพมหานคร.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.   ผลการเรียนของนักศึกษา  3.   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  1.   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  2.   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  1.  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  2.  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
1.  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  2.  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ