กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง

Anatomy and Physiology of Farm Animals

1.1 ความรู้กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยงเบื้องต้น (Introduction)
1.2 เข้าใจระบบโครงร่างภายนอก (Integumentary system)
1.3 รู้และเข้าใจระบบโครงกระดูก (Skeleton system)
1.4 เข้าใจระบบกล้ามเนื้อ (Muscle system)
1.5 รู้และเข้าใจระบบหมุนเวียนเลือด (Blood circulatory system)
1.6 รู้และเข้าใจระบบหายใจ (Respiratory system)
1.7 รู้และเข้าใจระบบการย่อยอาหาร (Digestion system)
1.8 รู้และเข้าใจระบบขับถ่าย (Urinary system)
1.9 ระบบสืบพันธุ์สัตว์ (reproductive system)
1.10 รู้และเข้าใจระบบประสาท (Nervous system)
1.11 รู้และเข้าใจระบบอวัยวะรับความรู้สึก (Sensory system)
1.12 รู้และเข้าใจระบบควบคุมความเป็นปกติของร่างกายสัตว์ (Regulatory system, Homeostasis)
-
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบต่างๆ ของร่างกายสัตว์เลี้ยง
2ชั่วโมง/สัปดาห์
- ตระหนักในคุณธรรม จริยธรรมและความซื่อสัตย์สุจริตโดยไม่กระทำทารุณสัตว์ (1.1)
- มีวินัยต่อการเรียน เคารพกฎ ระเบียบ ตรงต่อเวลา 
- มีจิตสาธารณะ รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่มและนอกกลุ่ม 
- มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา การเคารพและให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่ภาควิชาฯ/คณะจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโสและอาจารย์
- การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆในรายวิชา
- นักศึกษาประเมินตนเอง
ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยงเบื้องต้น (Introduction) ได้แก่
ระบบโครงร่างภายนอก (Integumentary system), ระบบโครงกระดูก (Skeleton system), ระบบกล้ามเนื้อ (Muscle system), ระบบหมุนเวียนเลือด (Blood circulatory system), ระบบหายใจ (Respiratory system),ระบบการย่อยอาหาร (Digestion system), ระบบขับถ่าย (Urinary system), ระบบสืบพันธุ์สัตว์ (Reproductive system), ระบบประสาท (Nervous system), ระบบอวัยวะรับความรู้สึก (Sensory system) และระบบควบคุมความเป็นปกติของร่างกายสัตว์ (Regulatory system, Homeostasis)
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) โดยให้ศึกษาอวัยวะภายในจริงของสัตว์ การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนแบบ e-Learning เป็นต้น
- สอบกลางภาค ทดสอบย่อย และสอบปลายภาค
- ทำรายงานรายบุคคล และรายกลุ่ม
- อภิปรายในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยงเบื้องต้น
- สามารถสืบค้นและประยุกต์ใช้ข้อมูลอย่างรอบคอบ 
- สามารถใช้ปัญญาพัฒนาตนเอง เพื่อนำไปใช้พัฒนาเป็นอาชีพ และช่วยพัฒนาสังคม 
- สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อแก้ไขโจทย์ปัญหาที่ตั้งให้ในชั้นเรียนได้แบบสร้างสรรค์ 
- มีความพอเพียงต่อการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- การสอนโดยใช้การเรียนรู้และอภิปรายร่วมกัน
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยการช่วยกันสืบค้นข้อมูลและนำข้อมูลมาสรุปและประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาตามโจทย์ที่กำหนดให้
- ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
- รายงานเป็นรายบุคคล และสัมมนาเป็นรายกลุ่มแต่แยกหัวข้อและรายงานทุกคนในกลุ่ม
- การสอบข้อเขียนกลางภา การสอบย่อย และปลายภาค
- มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และสามารถทำงานเป็นกลุ่มได้ตามวัตถุประสงค์ (4.2)
- วางตัวและร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่มได้อย่างเหมาะสม (4.3)
- มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมสม่ำเสมอ (4.4)
- มีกิจกรรมในชั่วโมงปฏิบัติการเพื่อให้นักศึกษามีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นๆ
- มอบหมายงานกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้
- มอบหมายให้ดูแลความสะอาดและเป็นระเบียบของสภาพแวดล้อมในและนอกชั้นเรียน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ประเมินจากสภาพแวดล้อมภายหลังการมอบหมายงาน
- ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่นๆในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
- สามารถใช้ Power point ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย และสามารถใช้ภาษาไทยในการนำเสนอด้วยการเขียนและการพูดได้อย่างเหมาะสม 
- สามารถคัดเลือกแหล่งข้อมูลมาประกอบการค้นคว้าได้ 
- สามารถค้นคว้าหาข้อมูล/งานวิจัยหรือการเปลี่ยนแปลงด้านกายวิภาคสัตว์ทางอินเตอร์เน็ตได้ 
- นักศึกษาสามารถใช้โปรแกรม PowerPoint เพื่อนำเสนองานมอบหมายได้อย่างชัดเจน ง่ายต่อการเข้าใจของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
- ผู้สอนมีการนำเสนอข้อมูลหรือวิทยาการใหม่ ๆ เกี่ยวกับการผลิตไข่ หรือนวัตกรรมจากไข่ (egg design) ที่ค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต มาเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นประโยชน์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนำเสนอและสืบค้นข้อมูลที่จะประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนและเมื่อจบการศึกษาสามารถนำไปใช้ในอาชีพการงานได้
- การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยี
- ประเมินทักษะการนำเสนอด้วยโปรแกรม Power point พร้อมรายงานที่ค้นคว้าซึ่งเขียนด้วยลายมือของนักศึกษา
- ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะกาวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2 1. 2. 1. 2. 3. 1. 2. 1. 2. 1.
1 BSCAG201 กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 (2.1),(2.2), (2.3), (2.4),(3.2), (33), (3.1) การสอบในปฏิบัติการ 13 ครั้ง 1-16 20%
2 (1.1), (1.5), (2.1), (2.2), (2.3) (2.4),(3.1),(3.5) การสอบกลางภาค และปลายภาค 9, 18 30% 35%
3 (1.1),(1.3),(1.5),(1.2),(4.1),(4.2),(4.3),(4.4), (3.5) การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ และความพอเพียงที่จะนำความรู้ไปใช้ 1-15 5%
4 (1.1),(1.2),(1.3),(1.5).(4.2),(4.3),(4.4) การประเมินตนเองของนักศึกษา ทางพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ 5%
5 (1.3), (4.1),(4.2),(4.3) การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 1-15 สัปดาห์ 3%
6 (4.2),(4.3) การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน โดยนักศึกษาอื่นๆในรายวิชา 1-15 2 %
-กายวิภาคและสรีรวิทยาสัตว์เลี้ยง. 2560. สมปอง สรวมศิริ, สมยงค์ จันทร์งาม และสีกุน นุชชา.
http://www.seekun.net/e-physio-all.htm
-กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของสัตว์. 2560. e-Learning PSRU.elearning.psru.ac.th/
courses/298/1Introduction.pdf
-Phiillp E. Cochran. 2004. Laboratory Manual for Comparative Veterinary Anatomy and Physiology. 338p.
-
-
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมต่างๆ สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบการประเมินผลของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดย ฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา
สาขาวิชาจะทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา จากคะแนนดิบและระดับคะแนนของรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
-