มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์และความปลอดภัยทางอาหาร

Livestock Farm Standards and Food Safety

: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 ศึกษาเกี่ยวกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ละชนิด การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร และมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์
1.2นำความรู้และหลักการเกี่ยวกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ละชนิด การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร และมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์ไปประยุกต์ปรับใช้ในการทำงานจริง
1.1 ศึกษาเกี่ยวกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ละชนิด การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร และมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์
1.2นำความรู้และหลักการเกี่ยวกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ละชนิด การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร และมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์ไปประยุกต์ปรับใช้ในการทำงานจริง
ศึกษาเกี่ยวกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ละชนิด การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร และมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์
จัดให้นิสิตพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
3.1 วันพุธ และพฤหัสบดี เวลา 15.00-16.30 น. ห้องพักอาจารย์ของสาขาวิชา โทร. 085-1159678
3.2 e-mail; nawannaporn@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)

. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

3. การสอนแบบบรรยาย
1.การฝึกตีความ
2.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.การประเมินตนเอง
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโน โลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
.การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)

2.การสอนแบบบรรยายและ
เชิงอภิปราย
1.การนำเสนองาน
2.ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.การเรียนแบบสร้างแผนผัง
ความคิด (Concept Mapping)
2.การสอนแบบ Brain
Storming Group
3.การสอนแบบการอภิปราย
กลุ่มย่อย (Small - Group
Discussion)
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3. ประเมินจากการแสดงความคิดเห็น
4.ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบสถานการณ์
จำลอง (Simulation)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
(Participatory Learning)
3. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน
และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษา
มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 4.มอบหมายงานกลุ่มและมีการ
เปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจ-
กรรมที่มอบหมาย เพื่อให้
นักศึกษาทำงานได้ร่วมกับ
ผู้อื่น
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองาน
3. การประเมินโดยเพื่อน
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.กระบวนการสืบค้น (Inquiry
Process) และแนะนำการ
สืบค้นด้วยเทคโนโลยีสาร
สนเทศ
2.ใช้ Power point และมีการ
นำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์
เนตร่วมด้วย
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองานรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะกาวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3. 4. 1. 2 1 1. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 3.
1 BSCAG207 มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์และความปลอดภัยทางอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย 10,18 25%, 35%
2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
ไม่มี
วิเชียร วรพุทธพร. 2549. ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมเพื่อการประกันคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร. วารสารศูนย์บริการวิชาการ. 14 (3) : 30-35.

สงวนรุ่งวงศ์. 2549. คู่มือการประยุกต์ใช้ GMP และ 5ส ในอุตสาหกรรมอาหาร. บริษัทพงษ์วรินทร์การพิมพ์ จำกัด : กรุงเทพฯ. 136 หน้า.

สถาบันอาหาร. 2542. การประยุกต์ใช้ระบบ HACCP ในผลิตภัณฑ์อาหาร. ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรรถสิทธิ์การพิมพ์ : กรุงเทพ 147 หน้า.
กรมปศุสัตว์. _________. กฎหมายเกี่ยวกับการปศุสัตว์. ข้อมูลออน์ไลน์ที่ : http://www.dld.go.th/th/index.php?option=com_content&view=section&id=12&Itemid=56
ไม่มี
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาผ่านระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนจากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
ผลการเรียนของนักศึกษา
ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
ประเมินจากการสอบของนักศึกษา
ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข