การปรับปรุงพันธุ์พืช

Plant Breeding

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้าน
1) เข้าใจความหมายและวัตถุประสงค์ของการปรับปรุงพันธุ์พืช
2) เข้าใจและมีทักษะด้านความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์ ระบบการสืบพันธุ์ของพืชและพันธุศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์พืช
3) รู้หลักการ เข้าใจ และมีทักษะที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเองและผสมข้าม
4) มีทักษะการผสมเกสรโดยธรรมชาติ การผสมข้ามโดยมนุษย์ การควบคุมการผสมเกสรของผักที่ผสมตัวเองและผสมข้ามได้ และการบันทึกลักษณะพันธุ์พืช
5) มีทักษะการการควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์หลัก
6) รู้ เข้าใจกระบวนการจัดการพันธุ์พืชใหม่ กฎเกณฑ์ต่างๆ และมีทักษะเกี่ยวกับพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518 และ พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542
1) นักศึกษาสามารถใช้สื่อ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการวิเคราะห์ข้อมูล  และการนำเสนอผลงานที่ได้ทำการทดลอง
2) นักศึกษาสามารถนำความรู้ ทักษะในด้านการปรับปรุงพันธุ์ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ วิธีการสืบพันธุ์ของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แหล่งกำเนิดของพืช ขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง พันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม การปรับปรุงพันธุ์ต้านทานโรคและแมลง เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์พืช และการรับรองพันธุ์
The study and practice of plant reproduction, genetic inheritance, plants origin, plant breeding process, genetics and method for self-pollinated crops, genetic and method for cross-pollinated crops, plant breeding for disease and insect resistances, biotechnology for plant breeding and cultivar certification.
วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 13.00 - 16.30 น. ห้อง อาคารเมล็ดพันธุ์พืช โทร...089-6330887
   e-mail; januluk@yahoo.com เวลา 8.30 - 16.30 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ
5. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ
8. การสอนแบบบรรยาย
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การเขียนบันทึก
3. โครงการกลุ่ม
4. การสังเกต
5. การนำเสนองาน
6. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบบรรยาย  
6. การสอนแบบปฏิบัติ
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การเขียนบันทึก
3. โครงการกลุ่ม
4. การสังเกต
5. การนำเสนองาน
6. ข้อสอบอัตนัย
7. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบบรรยาย  
6. การสอนแบบปฏิบัติ
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบบรรยาย
2. การสอนฝึกปฏิบัติการ
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การเขียนบันทึก
3. โครงการกลุ่ม
4. การสังเกต
5. การนำเสนองาน
6. ข้อสอบอัตนัย
7. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ใช้  Power point มีการนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้วยวาจา
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. โครงการกลุ่ม
3. การสังเกต
4. การนำเสนองาน
5. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. ปฏิบัติการในห้องทดลอง
2. ปฏิบัติภาคสนาม
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1..คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BSCAG107 การปรับปรุงพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,3.1,3.2 การทดสอบย่อย (Quiz) 1-16 25 %
2 1.1,2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบกลางภาค 9 25 %
3 1.1, 2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบปลายภาค 18 25 %
4 1.1, 1.2, 1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-18 10 %
5 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-18 10 %
6 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 9,18 5 %
กฤษฎา สัมพันธารักษ์. 2528. การปรับปรุงพันธุ์พืช. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 155 น.
________________. 2544. ปรับปรุงพันธุ์พืช : ความหลากหลายของแนวคิด.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
          กรุงเทพฯ. 272 น.
________________. 2546. ปรับปรุงพันธุ์พืช : พื้นฐาน วิธีการ และแนวคิด. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
          กรุงเทพฯ. 237 น.
________________. 2547. ปรับปรุงพันธุ์ผัก. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
          กรุงเทพฯ. 291 น.
________________. 2551. ปรับปรุงพันธุ์พืช: พื้นฐาน วิธีการ และแนวคิด. ภาควิชาพืชไร่นา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 465 น.
จานุลักษณ์ ขนบดี. 2541. การผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก. พิมพ์ครั้งที่ 2 สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ กรุงเทพ. 183 น.
________________. 2554. การผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 46 น.
________________. 2562. การปรับปรุงพันธุ์และผลิตเมล็ดพันธุ์พืชวงศ์แตง. พิมพ์ครั้งที่ 2.
โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จำกัด, กรุงเทพฯ. 214 น.
เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์. 2527. การปรับปรุงพันธุ์พืชชั้นสูง. ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 161 น.
เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ และ พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์. 2529. การปรับปรุงพันธุ์พืชเศรษฐกิจของ
ประเทศไทย. กลุ่มหนังสือเกษตร.  381 น.
มณีฉัตร นิกรพันธุ์. 2546. การปรับปรุงพันธุ์และผลิตเมล็ดพันธุ์ผักลูกผสม. คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 254 น.
นพพร สายัมพล. 2526. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร
            มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 123 น.
พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์ และวิทยา สุริยาภณานนท์. 2539. การปรับปรุงพันธุ์พืชและการขยายพันธุ์พืช
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 1 – 72.
พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์ จินดา จันทร์อ่อน และชยาพร วัฒนศิริ. 2541. การปรับปรุงพันธุ์และการขยายพันธุ์ .
          สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, กรุงเทพฯ. 432 น.
ไพศาล เหล่าสุวรณ. 2525. พันธุศาสตร์. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา: 1-70.
ไพศาล เหล่าสุวรรณ. 2526. หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา. 303 น.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2541. ศัพท์พฤกษศาสตร์ อังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ. 366 น.
สุทัศน์ ศรีวัฒนาพงศ์. 2553. การปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 
            กรุงเทพฯ. 353  น.
สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช. 2563. พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542.
[On-line].  Available: http://www.doa.go.th/pvp/?page_id=436, 9 พฤศจิกายน 2563.
สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช. 2563. พระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518.
[On-line].  Available: http://www.doa.go.th/pvp/?page_id=1898, 9 พฤศจิกายน 2563.
รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการของสมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย
รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการของพืชสวนแห่งชาติ
http://ag-ebook.lib.ku.ac.th/index.php/component/content/article/484
http://www.doa.go.th/pvp/
-
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ   กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป