พืชสมุนไพร

Medicinal Plants

1.1 เพื่อให้รู้ความหมาย ความสำคัญของพืชสมุนไพร
1.2 เพื่อให้เข้าใจประวัติการใช้สมุนไพรกับการแพทย์แผนไทย
1.3 เข้าใจการจำแนกพืชสมุนไพร การปลู ดูแล ขยายพันธ์ตลอดจนการเก็บเกี่ยวและจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
1.4 เข้าใจการแปรรูป การใช้และอนุรักษ์ ตลอดจนการตลาดพืชสมุนไพร
1.5 ให้มีเจตนคติที่ดีต่อสมุนไพรและภูมิปัญญาไทย
 
เพื่อให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของพืชสมุนไพรไทยในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและการใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญประวัติและการจำแนกพืชสมุนไพร การปลูก การดูแลรักษา การขยายพันธุ์ การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูป การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์พืช การตลาดพืชสมุนไพรในประเทศและต่างประเทศ
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำ สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวัน และเวลาให้นักศึกษาทราบ
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.1 สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหาโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2 กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน
1.2  ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3  ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
1.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.1 ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้แก่การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางโดย เน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ต /แหล่งข้อมูลอื่นๆ และจัดทำเป็นรายงาน
2.1 ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.2 ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
3.  ด้านทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills)
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1 แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานเพาะปลูกไม้กระถางที่ได้รับมอบหมาย
3.2 อภิปรายกลุ่ม
3.3  ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้วโดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่างๆรวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
 3.4   เชิญผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบการหรือหน่วยงานของรัฐภายนอกมหาวิทยาลัยมาให้ข้อเสนอแนะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
3.1   ทดสอบโดยข้อเขียนและสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
 3.2   ดูจากรายงานการนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
 3.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
 
 
 
 
4.1   มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมายเพื่อให้นักศึกษา
   ทำงานได้กับผู้อื่นโดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.2   ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน
4.3   การนำเสนอรายงาน 5.1  ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
5.2มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียนพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้องชัดเจนและกระชับ
 
 
 
 
 
4.1   ประเมินตนเอง และเพื่อนโดยประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.2  ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
4.3   ประเมินจากกระบวนการทำงานและผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
  5.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี Power pointหรือเทคโนโลยีอื่นๆที่เหมาะสม
5.2   ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
5.3ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบโดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลขกราฟหรือตาราง
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communicationand Information Technology Skills)
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
5.2มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียนพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้องชัดเจนและกระชับ
5.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี Power pointหรือเทคโนโลยีอื่นๆที่เหมาะสม
5.2   ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
5.3ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบโดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลขกราฟหรือตาราง
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG151 พืชสมุนไพร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,5 วัดผลแต่ละหน่วยเรียน 1-16 70
2 4 งานมอบหมาย 11-13 20
3 1 จิตพิสัย 1-16 10
วุฒิ วุฒิธรรมเวช. 2537.เภสัชกรรมไทยรวมสมุนไพร.กรุงเทพ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน.เล่มที่14.เรื่องที่10 สมุนไพร.
สุธีกานต์ โสตถิกุล. 2543. เอกสารคำสอนวิชาพืชสมุนไพร คณะวิชาพืชศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลำปาง
มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์แผนไทยเดิมฯ.2559.ตำราเภสัชกรรมไทย พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพ 264 หน้า
สถาบันการแพทย์แผนไทย 2542 ชุมนุมแพทย์แผนไทยและสมุนไพรแห่งชาติ ครั้งที่3. กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณะสุข.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา.2543. คู่มือผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจชุมชน.กระทรวงสาธารณะสุข.
สำนักงานคณะกรรมการการสาธารณะสุขมูลฐาน.2537.ยาไทยสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน.สำนักงานปลัดกระทรวง สถาบันการแพทย์แผนไทย
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.