สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

Environment and Development

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 เข้าใจความสัมพันธ์ของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
1.2 เข้าใจหลักนิเวศวิทยาและสมดุลธรรมชาติ
1.3 เข้าใจปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
1.4 เข้าใจทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ มลพิษสิ่งแวดล้อม และการกำจัดมลสารทางวิทยาศาสตร์
1.5 เข้าใจการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการบริหารการจัดการเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเพื่อให้เกิดความยั่งยืน และการมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเพื่อให้นักศึกษาใช้กระบวนการเรียนรู้สาระสำคัญของเนื้อหารายวิชาไปพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมในโลกปัจจุบันโดยเน้นการคิดวิเคราะห์ เช่น ทักษะในศตวรรษที่ 21 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลและการเชื่อมโยงความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมและเทคโนโลยีกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน แนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ นวัตกรรมเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
1. ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามที่นัดหมาย (เฉพาะรายที่ต้องการ)
2. ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ผ่านสื่อสังคม Facebook กลุ่มได้ตลอดเวลา โดยนักศึกษาสามารถเข้าไปปรึกษาทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ผ่านวิธีการสอนที่ประยุกต์ใช้กระบวนการเหล่านี้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) -ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรมแลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม
วิธีการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ก็เน้นประเด็นพฤติกรรมที่วัดได้ดังต่อไปนี้ 1. การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 2. ความมีวินัย การแต่งกาย และความใส่ใจของนักศึกษาในการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน 3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) การศึกษาจากบทความงานวิจัย ข่าว กรณีศึกษา ตลอดจนประเด็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาในระดับชุมชน ประเทศ และระดับโลก
ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม มอบหมายงานกลุ่ม รายบุคคล พร้อมส่งตัวแทนนำเสนอหน้าชั้นเรียน ส่งงานรายบุคคล วิพากษ์งานของตนเอง ของกลุ่มและของเพื่อนในสื่อสังคมออนไลน์ที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม การสอบวัดความรู้ความเข้าใจโดยใช้ข้อสอบแบบปรนัย และเขียนตอบ และข้อสอบแบบเปิด (Opened Examination)
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) การเข้าร่วมกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมกับชุมชนและปราชญ์ชุมชนในท้องถิ่นโครงการพัฒนากระบวนการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาโดยการบริการชุมชน (กิจกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน) การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) การศึกษาจากบทความงานวิจัย ข่าว กรณีศึกษา ตลอดจนประเด็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาในระดับชุมชน ประเทศ และระดับโลก
วิพากษ์งานของตนเอง ของกลุ่มและของเพื่อนในสื่อสังคมออนไลน์ที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม นำเสนอข้อมูลในลักษณะของแผนที่ความคิด (Mind Mapping)  สำหรับพฤติกรรมเพื่อลดภาระโลกร้อน
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) การเข้าร่วมกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมกับชุมชนและปราชญ์ชุมชนในท้องถิ่นโครงการพัฒนากระบวนการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาโดยการบริการชุมชน (กิจกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน) การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) การศึกษาจากบทความงานวิจัย ข่าว กรณีศึกษา ตลอดจนประเด็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาในระดับชุมชน ระดับประเทศ และระดับโลก
นำเสนอข้อมูลในลักษณะของแผนที่ความคิด (Mind Mapping) กราฟิกข้อมูลที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้จริง โครงการ/แนวทางในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในระดับชุมชน ประเทศ และระดับโลก ทั้งในภาพรวม และประเด็นย่อย
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) การเข้าร่วมกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมกับชุมชนและปราชญ์ชุมชนในท้องถิ่นโครงการพัฒนากระบวนการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาโดยการบริการชุมชน (กิจกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน) การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) การศึกษาจากบทความงานวิจัย ข่าว กรณีศึกษา ตลอดจนประเด็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาในระดับชุมชน ระดับประเทศ และระดับโลก
นำเสนอข้อมูลในลักษณะของแผนที่ความคิด (Mind Mapping) กราฟิกข้อมูลที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้จริง เช่น Spider diagram สำหรับพฤติกรรมเพื่อลดภาระโลกร้อนโดยเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น การสร้างแผนที่ความคิด โดยใช้โปรแกรม Xmind การนำเสนอข้อมูลกราฟิกโดยใช้ Spider diagram มีการนำเสนอผ่านสื่อสังคมออนไลน์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSC106 สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม การสังเกต ข้อมูลการเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ และการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน 1-8, 10-16 ร้อยละ 20
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การสอบวัดความรู้ความเข้าใจโดยใช้ข้อสอบแบบปรนัย และเขียนตอบ และข้อสอบแบบเปิด (Opened Examination) 5, 9, 14, 17 ร้อยละ 30
3 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ การวิพากษ์งานของตนเอง ของกลุ่มและของเพื่อนในสื่อสังคมออนไลน์ที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม นำเสนอข้อมูลในลักษณะของแผนที่ความคิด (Mind Mapping) กราฟิกข้อมูลที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้จริง เช่น Spider diagram สำหรับพฤติกรรมเพื่อลดภาวะโลกร้อน 1-8, 10-16 ร้อยละ 10
4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม การเข้าร่วมกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมกับชุมชนและปราชญ์ชุมชนในท้องถิ่นโครงการพัฒนากระบวนการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาโดยการบริการชุมชน (กิจกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน) 11-12 ร้อยละ 10
5 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหา สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำเสนอข้อมูลในลักษณะของแผนที่ความคิด (Mind Mapping) กราฟิกข้อมูลที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้จริง โดยเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น การสร้างแผนที่ความคิด โดยใช้โปรแกรม Xmind การนำเสนอข้อมูลกราฟิกโดยใช้ Spider diagram มีการนำเสนอผ่านสื่อสังคมออนไลน์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน 1-8, 10-16 ร้อยละ 30
ชลดา กุลวัฒน์. เอกสารประกอบการสอนวิชา สิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากร (Environment and Resource Management) สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา ชัยวัฒน์ คุประตกุล. กรุงเทพฯศตวรรษปี 2000. มีเดียโฟกัส.
สุภาภรณ์ ครัดทัพ เอกสารประกอบการสอนวิชา เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry) ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (http://www.warehouse.mnre.go.th/mnre/) Kemp, D.D., 1990. EARTH: OUR CROWED SPACESHIP. Routledge, Inc
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินกิจกรรมในรายวิชา 1.3 การประเมินผู้เรียนโดยนักศึกษาและอาจารย์
กระบวนการการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เรียนและผู้สอนแต่ละกิจกรรมในชั้นเรียนและสื่อสังคมออนไลน์ 2.2 คุณภาพของผลงานและผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
จากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการสังเคราะห์ในทุกประเด็นทั้งส่วนของเนื้อหาหรือสาระรายวิชา กลยุทธ์การสอน วิธีการวัดและประเมินผล การกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ นำเสนอเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนผ่านการจัดทำรายงานผลการจัดการเรียนการสอนและจัดทำแผนพัฒนาการเรียนการสอนในส่วนของเนื้อหา และกิจกรรมการเรียนการสอนภาคเรียนต่อไปแก้ไข
 
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลการประเมินในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา นักศึกษากับผู้สอน การตรวจผลงานของนักศึกษา การประเมินผลตามสภาพจริง การประเมินโดยนักศึกษา ผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลการประเมินในภาพรวมแก้ไข
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาทุกภาคเรียนเนื่องจากสถานการณ์และข้อมูลสิ่งแวดล้อมมีการรายงานจากหน่วยงานในลักษณะข้อมูลตามเวลาจริง (real time data) ตลอดจนการนำเสนอข้อมูลใหม่ ๆ จากผลงานวิจัยทั้งในระดับชุมชน ประเทศ และระดับโลก 5.2 ปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียนที่เปลี่ยนไปในการเสริมสร้างและสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 เช่นการลงพื้นที่ทำโครงการสิ่งแวดล้อมในชุมชน การประยุกต์ใช้เกมกระดาน (Board Game) ในการเรียนการสอน 5.3 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนให้มีปราชญ์ชาวบ้านได้มาถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และผู้มีประสบการณ์ตรง