การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

Food Product Development

1.1 เข้าใจหลักการ และความสำคัญของการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1.2 เข้าใจกระบวนการสร้าง กลั่นกรอง และพัฒนาแนวความคิดผลิตภัณฑ์
1.3 การนำกระบวนการพัฒนาสูตร กรรมวิธีการผลิต และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ไปใช้
1.4 ทำการทดสอบผู้บริโภคตัวอย่างและการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์จากการพัฒนาได้
1.5 สามารถคิดต้นทุนการผลิตและจุดคุ้มทุน และการประเมินตลาดผลิตภัณฑ์
1.6 การนำเสนอผลงานโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สำเร็จได้
1. เพื่อให้มีการเพิ่มเติมและปรับเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการระบบคุณภาพสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ กฎหมายมาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารทั้งในประเทศและต่างประเทศ
2. องค์ความรู้ใหม่ๆ ที่ทันสมัยเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์
3. การปรับใช้กระบวนการเพื่อการดำเนินการวิจัยเชิงทดลอง มาบูรณาการกับเนื้อหาภาคปฏิบัติการของรายวิชา ตลอดภาคการศึกษา
หลักการและความสำคัญของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์การ ควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ การทดสอบผลิตภัณฑ์ใหม่และการประเมินตลาดผลิตภัณฑ์
Principles and importance of product development; product development
process; consumer behavior and needs; product quality control; new product testing and commercial feasibility study
(กำหนดให้ไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง ในช่วงเวลาที่ระบุ)
3.1 วัน จันทร์ เวลา 16.00-17.00 น. และวันพุธ 15.00-17.00 น. (กรณีไม่ติดราชการ/ ประชุม)
สถานที่ : ห้องพัก ชั้น 1 (AI.18-101) / ห้องสมุดชั้น 3 (AI.18-304)
อาคารอุตสาหกรรมเกษตร ตามความเหมาะสม
โทร : 08-6912-3868 ID Line : teetep2516 (ช่วง 17.30-21.00 น.ทุกวัน)
(ตามตารางที่ประกาศ และการแจ้งกลุ่มผู้เรียนที่จัดตั้งทางสื่อสังคมออนไลน์)
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังระดับหลักสูตร
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ได้กำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ข้างต้น ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ตลอดจนความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วยผู้ประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน บุคลากรของภาควิชาและผู้บริหารของมหาวิทยาลัยดังนี้
 
PLO 1. เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีความรู้ทางวิชาการและความรู้ทางวิชาชีพในการปฏิบัติงานด้านอุตสาหกรรมอาหาร
Sub PLO 1: 1A มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 2.1)
1B มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 2.2)
1C สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษา เพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 2.3)
1D รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 2.4)
1E มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหาหรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 3.1)
1F สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 3.2)
1G สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 5.6)
1H สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 5.7)
 
 
 
PLO 2. เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติผู้มีคุณธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณวิชาชีพในการปฏิบัติงานด้านอุตสาหกรรมอาหาร
Sub PLO 2: 2A มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 1.1)
2B แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 1.2)
2C มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 1.3)
2D เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 1.4)
2E เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 1.5)
2F มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 4.1)
2G สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่น ทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 4.2)
2H วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 4.3)
2I สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 4.4)
 
PLO 3. เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีทักษะปฏิบัติและความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในการปฏิบัติงานด้านอุตสาหกรรมอาหาร
Sub PLO 3: 3A มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 3.4)
3B มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการ รวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม และมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างเหมาะสม (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 6.1)
3C สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 3.3)
3D สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 5.1)
3E สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 5.2)
3F สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 5.3)
3G สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม (อ้างอิงจากผลการเรียนรู้ LO 5.7)  
ทั้งนี้การพัฒนาผลการเรียนรู้ดานคุณธรรมจริยธรรม ที่สำคัญที่ประกอบด้วย 
™1.มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
™2.แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
l3.มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
™4.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
l5.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การสอนฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3. กรณีศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์
สื่อที่ใช้ คือ Power point
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7. ข้อสอบปรนัย
l1.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
l2.มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
™3.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
™4.รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การสอนฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3. กรณีศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์
สื่อที่ใช้ คือ Power point
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7. ข้อสอบปรนัย
™1.มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
l2.สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
l3.สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
l4.มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การสอนฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3. กรณีศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์
สื่อที่ใช้ คือ Power point
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7. ข้อสอบปรนัย
™1.มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
™2. สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
™3. วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
l4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การสอนฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3. กรณีศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์
สื่อที่ใช้ คือ Power point
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7. ข้อสอบปรนัย
l1. สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
l2. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
™3. สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชา นั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
™4. มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
™5. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
™6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
™7. สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7. ข้อสอบปรนัย
l1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง
โครงงาน ส่วนการปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะทางปัญญา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7. ข้อสอบปรนัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ( Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1
1 BSCFT104 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.5, 4.1-4.4 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตามกำหนดเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-8, และ 9-17 5 %
2 2.1-2.4, 3.1-3.4 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 40 %
3 2.1-2.4, 3.1-3.4 การสอบช่วงกลางภาค 9 10 &
4 5.1-5.7, 6.1 รายงานปฏิบัติการ, โครงการ และงานมอบหมาย 1-8, และ 9-16 25 %
5 5.1-5.7, 6.1 การนำเสนองาน 17 10 &
6 2.1-2.4, 3.1-3.4 การสอบช่วงปลายภาค 18 10 %
กัลยา วานิชย์บัญชา. 2540. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS for Windows. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. น.
คงศักดิ์ ศรีแก้ว. 2556. การบริหารจัดการคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 247 น.
ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร.  2549.  การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 466 น.
ปิยพิมลสิทธิ์. 2559. การใช้ IIBM SPSS Statistics เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล. สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 240 น.
เฉลิมพล ถนอมวงค์. 2557. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. สาขาอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก, พิษณุโลก. 178 น.
ดาราวงษ์. 2558. การจัดการผลิตภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัย
ศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี. บริษัท ธนาเพลส จำกัด, กรุงเทพฯ. 330 น.
ทิพวรรณา งามศักดิ์. 2545. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 175 น.
ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ. 2558. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. สาขา
อุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลล้านนา, ลำปาง. น.
ปุ่น คงเจริญเกียรติ และ สมพร คงเจริญเกียรติ. 2541. บรรจุภัณฑ์อาหาร. แพคเมทส์, กรุงเทพฯ. 358 น.
ไพโรจน์ วิริยะจารี. 2545. หลักการทางเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 436 น.
ยุทธนา พิมลศิริผล. 2553. เทคนิคการประเมินอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 123 น.
รุ่งนภา วิสิฐอุดรการ. 2540. การประเมินอายุการเก็บของอาหาร. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์,
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 169 น.
รุ่งนภา วิสิฐอุดรการ. 2549. อายุการเก็บผลิตภัณฑ์, ใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร,

หน้า ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 466 น. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2557. เอกสารการสอนชุดวิชา : กระบวนการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร : หน่วยเรียนที่ 1-7. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี. น. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2557. เอกสารการสอนชุดวิชา : กระบวนการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร : หน่วยเรียนที่ 8-15. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี. น.

วิวัฒน์ หวังเจริญ. 2558. สถิติและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 346 น.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์, สมชาย หิรัญกิตติ, จิรศักดิ์ จิยะจันทน์, ชวลิต ประภวานนท์, ณดา จันทร์สม
และวลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์. 2540. การวิจัยตลาด. A. N. การพิมพ์, กรุงเทพฯ. 310 น.
ศจี สุวรรณศรี. 2551. หลักการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส.
คณะเกษตรและทรัพยากรสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. 155 น.
อนุวัตร แจ้งชัด. 2544. เอกสารประกอบการสอนวิชา 054-355 : สถิติและการวางแผนการทดลองสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
อิสรพงษ์ พงษ์ศิริกุล. 2550. การวิเคราะห์ผลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 168 น.
อภิรัฐ ตั้งกระจ่าง บัณฑิต ผังนิรันดร์ และ ต่อศักดิ์ ซอแก้ว. 2546. จริยธรรมทางธุรกิจ. บริษัทธรรมสาร จำกัด, กรุงเทพฯ. 291 น.
Angle D. And V. Daniel. Design and Analysis of Experiments. Springer, New York. 740 p.
Anna V. A. Resurrection. 1998. Consumer Sensory Testing for Product Development. Aspen Publishers, Inc, Maryland. 254 p.
รายงานโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และปัญหาพิเศษ ของนักศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร จากปีการศึกษาที่ผ่าน ๆ มา
Web site องค์ความรู้ จากภาครัฐ เอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ทั้งในและต่างประเทศ
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัย
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ตามผลลัพธ์การเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอน เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา
ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป