อุตสาหกรรมสร้างสรรค์เพื่องานออกแบบ

Creative Industrial for Design

1.1 รู้หลักเบื้องต้นของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 1.2 เข้าใจแนวคิดของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 1.3 เข้าใจประเภทของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 1.4 เข้าใจการจัดการความคิดสร้างสรรค์ 1.5 เข้าใจภูมิปัญญาพื้นถิ่นที่ใช้ในการสร้างสรรค์สินค้าและบริการ 1.6 มีเจตคติที่ดีต่ออุตสาหกรรมสร้างสรรค์เพื่องานออกแบบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เบื้องต้นของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ แนวคิดของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ประเภทของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ การจัดการความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาพื้นถิ่นที่ใช้ในการสร้างสรรค์สินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด   นำไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาศ  ของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต 
ศึกษาเกี่ยวกับ : เศรษฐกิจสร้างสรรค์ แนวคิดของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ประเภทของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ การจัดการความคิดสร้างสรรค์ ภูมปัญญาพื้นถิ่นที่ใช้ในการสร้างสรรค์สินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด                   Study   of   the   creative  economy, concept  and  the  type  of  creative  industrial  design,  creative  management  and  local  wisdom  to created  products  and  service. 
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาทางกลุ่ม Line หรือ Microsolf Teams -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยให้นักศึกษานัดเวลาล่วงหน้าผ่านทาง LINE
(1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น (3) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา  สอนให้มีระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา  ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม (4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา  
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี  และการศึกษาบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมจากสถานที่จริง
2.3.1   สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 2.3.2   ประเมินจากข้อมูลในการทำโครงร่างโครงงานและการอ้างอิงที่มาของข้อมูล
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมิลข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษา การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล   การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย  และการนำเสนองาน
(1) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม   การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก   การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ    ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล  โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล   การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม   ประเมินจากการอธิบาย  การนำเสนอ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BAAID121 อุตสาหกรรมสร้างสรรค์เพื่องานออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 2, 3 ทดสอบย่อย 3,6 30%
2 ข้อ 2, 3 สอบกลางภาค 8 20%
3 ข้อ 3, 5 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 16 20%
4 ข้อ 2, 3 สอบปลายภาค 17 20%
5 ข้อ 1 การเข้าเรียนในระบบ ONLINE การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เพื่องานออกแบบ
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ, 2553 "Thailand’s Creative Economy" รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2553, "ร่างกรอบทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11" สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินำเสนอในกิจกรรม ปรับกระบวนทัศน์ของประเทศสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จัดโดย กระทรวงการต่างประเทศร่วมกับศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ บรรยาย ณ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ วันที่ 26 มีนาคม 2553 รายงานการศึกษาดูงานประเทศเกาหลีใต้ใต้ กรณีศึกษา : อุตสาหกรรมบันเทิงและการท่องเที่ยว, ผู้เข้าอบรม หลักสูตร "นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม, ตุลาคม 2553 เศรษฐพันธ์ กระจ่างวงษ์ กรมองค์การระหว่างประเทศเกาหลีใต้ฟีเวอร์:การถ่ายทอดวัฒนธรรมผ่านสื่อ
พิจิตรา ศุภสวัสดิ์กุล. ซีรีส์เกาหลีใต้ว่าด้วยการส่งออกทางวัฒนธรรม,กรุงเทพธุรกิจ วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
นพดล สาลีโภชน์ และ พุทธกาล รัชธร.รายงานการเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ผลกระทบ ทางการค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศเกาหลีใต้ผ่านทางกระแสเกาหลีใต้ในประเทศไทย, 3 กรกฎาคม 2553 หนังสือพิมพ์ คม ชัด ลึก , กระแสวัฒนธรรมเกาหลีใต้วันพุธที่ 1 และศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2552 (ออนไลน์) เข้าถึงได้ จาก www.psevikul.com/index.php?lay=show&ac...Id
อเนก เพิ่มวงศ์เสนีย์ นักศึกษา ปรอ. รุ่นที่ 20. กระแสทางวัฒนธรรมของเกาหลีใต้กับบทเรียนของไทย, 2553
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2545. สำนักพิมพ์ชัคเชสมีเดีย
ต่อวงศ์ ปุ้ยพันธวงศ์. ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2553. งานสื่อสิ่งพิมพ์ ฝ่ายสื่อสิ่งพิมพ์และมัลติมีเดีย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, ปทุมธานี.
ราเทพ แสงทับทิม. เพิ่มพลังการจดและจำของสมอง. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556. สำนักพิมพ์ พราว โพเอท, กรุงเทพมหานคร.
ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา. ผลิตภัณฑ์ใหม่การตลาดและการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
ธีระชัย สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2544. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร.
วัชรินทร์ จรุงจิตสุนทร. หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2548. สำนักพิมพ์แอ๊ปป้า พริ้นท์ติ้ง กรุ๊ป จำกัด, กรุงเทพมหานคร. 
วีระ สุดสังข์. การคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2550. สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น, กรุงเทพมหานคร.
Department of Culture, Media and Sport (2001), “Creative Industries Mapping Document 2001”, [2], London, UK, Access [11/01/2010].
Srisangnam, 2009, "Creative Economy" Lecture note prepared for Korean Study Programme, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
World Intellectual Property Organization, WIPO ( 2003), Guide on Surveying the Economic Contribution of the Copyright –Based Industries
UNCTAD (2008), “Creative Economy Report 2008”, [3], Access [11/01/2010].
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในระบบ ONLINE 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 การสะท้อนคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   ประเมินผลจากพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา ระบบ ONLINE
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   สรุปประเด็นปัญหาที่พบเพื่อปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน 3.3   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ