ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมงานไม้

Wood Industrial Product Design

1.1 รู้หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมงานไม้
1.2 เข้าใจรูปแบบของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
1.3 เข้าใจสัดส่วนของงานออกแบบกับการใช้งานของมนุษย์
1.4 เข้าใจวัสดุและโครงสร้าง กรรมวิธีการผลิต
1.5 เข้าใจการแสดงแบบและการทำต้นแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมงานไม้
1.6 มีเจตคติที่ดีต่อวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมงานไม้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมงานไม้ รูปแบบของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ใช้ไม้เป็นวัสดุหลัก สัดส่วนของงานออกแบบกับการใช้งานของมนุษย์ วัสดุและโครงสร้าง กรรมวิธีการผลิต การแสดงแบบผลิตภัณฑ์ และการทำต้นแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมงานไม้
(1) ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2)มีทัศนคติที่เปิดกว้างยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนรวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการท างาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการด าเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหาและพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
านโดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆนอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่องตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดท า
(4) ประเมินจากการน าเสนอรายงานในชั้นเรียน
(5) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
(6) ประเมินจากแผนการด าเนินงานศิลปนิพนธ์ที่น าเสนอ
(7) ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบกา
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญา
(2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
(4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การน าเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่มร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานการปฏิบัติงานของนักศึกษาและการน าเสนองาน
(2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความส าคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคมมอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันท าหน้าที่ผู้น าและผู้ตามการเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการน าเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และน าเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการน าเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมส าหรับงานศิลปกรรม
ดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จ าลองและสถานการณ์เสมือนจริงแล้วน าเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การน าเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบายการน าเสนอ
(1) มีทักษะในการท าตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะน า
(2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
(3) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
 
สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
กองบริการอุตสาหกรรม. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กระดาษบางประอิน, 2518.
เจ.ดับบริว  เกียไซโน และคณะ. เขียนแบบเทคนิค. กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด. 2533.
จิระพล  ฉายัษฐิต. พรีเซนเตชั่นอย่างมั่นใจ. กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.  2537.
ดลย์  รัตนทัศนีย์. ขบวนการออกแบบทางศิลปอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 2528.
ทวิส   เพ็งสา. รูปร่างและประโยชน์ใช้สอย. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 2528.
บุญเลิศ  บุตรขาว. กายวิภาคฉบับนักศึกษาศิลปะ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2531.
นวลน้อย  บุญวงษ์. หลักการออกแบบ.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2539มนตรี  ยอดบางเตย. ออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนบุคส์สโตร์. 2538.
วิบูลณ์   ลี้สุวรรณ. ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ปาณยา. 2527.
วิรุณ  ตั้งเจริญ. การออกแบบ. กรุงเทพฯ: วิฌวลอาร์ต. 2527.
สาคร  คันธโชติ. การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. 2528.    
ธีระชัย  สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์,2554