แคลคูลัส 1

Calculus 1

นำวิธีการเกี่ยวกับฟังก์ชัน  ลิมิต  และความต่อเนื่องไปใช้ นำวิธีการอนุพันธ์และการประยุกต์ไปใช้ นำวิธีการหาปริพันธ์  เทคนิคการหาปริพันธ์และการประยุกต์ปริพันธ์จำกัดเขตไปใช้ เป็นวิชาพื้นฐานในการศึกษาวิชาแคลคูลัสชั้นสูงและวิชาชีพทางด้านวิศวกรรม

         5. เป็นการส่งเสริมประสบการณ์ของผู้เรียนในด้านการฝึกสมองอันเป็นแนวทางทำให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และแก้ปัญหาต่าง ๆ  ได้ด้วยตนเอง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของแต่ละสาขาวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับฟังก์ชัน  ลิมิตและความต่อเนื่อง  การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตและฟังก์ชันอดิศัย  การประยุกต์ของอนุพันธ์ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์    ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

                              6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
                               7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. สอดแทรกให้ผู้เรียนตระหนักถึงความเป็นผู้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ขณะบรรยายเนื้อหา 
2. กำหนดให้ผู้เรียนส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
ความรู้พื้นฐานศึกษาเกี่ยวกับฟังก์ชัน  ลิมิตและความต่อเนื่อง  การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตและฟังก์ชันอดิศัย  การประยุกต์ของอนุพันธ์ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์    ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์
 
2.2 วิธีการสอน
บรรยาย สาธิตตัวอย่าง ตามเอกสารประกอบการสอน สไลด์ประกอบการสอน และมอบหมายให้ทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากแบบฝึกหัดประจำบทก่อนสอบกลางภาคและหลังสอบกลางภาค
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์
3.2 วิธีการสอน
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำงานที่เป็นโจทย์คิดวิเคราะห์
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์
3.3.2   สังเกตพฤติกรรม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2 วิธีการสอน
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2   จัดกลุ่มแบบเพื่อนช่วยเพื่อน ในการสอบย่อย
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1   ประเมินจากรายงานการศึกษารายกลุ่ม
4.3.2   ประเมินจากรายงานการศึกษารายกลุ่ม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์
การมอบให้นักศึกษาทำงานที่เป็นโจทย์คิดวิเคราะห์
1. สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์
2. สังเกตพฤติกรรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BSCCC201 แคลคูลัส 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบย่อย (Quiz) 1-16 35%
2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 17.5% 17.5%
3 การส่งงานตามที่มอบหมาย รายบุคคล จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 คุณธรรมจริยธรรม ตลอดภาคการศึกษา 15%
1   ปรียา ขุมทรัพย์. คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรม เล่ม 1.   คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรม เล่ม 2.
2   ภัทรา  เดชาภิวาทย์. เรขาคณิตวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2540
3   ศรีบุตร  แววเจริญ และ ชนะศักดิ์  บ่ายเที่ยง. คณิศาสตร์วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ SERIES 2.
     กรุงเทพฯ: วงตะวันจำกัด,2541 
4   มนัส  ประสงค์. แคลคูลัส 1. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
5   อำพล  ธรรมเจริญ. แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ ตอนที่ 2. กรุงเทพฯ:พิทักษ์การพิมพ์.2542
6   วรรณา  ไชยวิโน.   แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2 กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ
เอกสารประกอบการสอนของแผนกคณิตศาสตร์ มทร.ล้านนา ตาก
แนะนำให้ทำแบบฝึกหัดด้วยตนเอง  ท่องสูตรและใช้สูตรได้ถูกต้อง ค้นคว้าโจทย์ปัญหาเพิ่มเติม
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2. ข้อแนะนำผ่านเว็บบอร์ดประจำรายวิชาที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
1. สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2. ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4