การผลิตพืชและการตลาดพืชอินทรีย์

Organic Plant Production and Market

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในวิธีการผลิตพืชให้ได้ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ทั้งของประเทศไทยและของโลก นำความรู้และความเข้าใจในโลกธุรกิจเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันการผลิตพืชอินทรีย์ที่ทันสมัย
1. เข้าใจและอธิบายหลักการและแนวคิดของเกษตรอินทรีย์
2. เข้าใจและรู้วิธีการจัดการพื้นที่ ธาตุอาหาร ศัตรูพืช ตลอดจนการเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต ในการผลิตพืชตามมาตรฐานการเกษตรอินทรีย์
3. เข้าใจระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทยและของโลกและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
4. เข้าใจสถานการณ์การผลิตและการตลาดเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทยและของโลก
การจัดการพืชและการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์ การจัดการพื้นที่ ระบบการปลูก การจัดการธาตุอาหาร ศัตรูพืช การเก็บเกี่ยว เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตเกษตรอินทรีย์นำไปสู่การจัดการระบบเกษตรอินทรีย์อย่างยั่งยืน ศึกษาระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของทั้งในและต่างประเทศกลยุทธ์และนโยบายการตลาดที่ใช้ในธุรกิจจริงทั้งในและต่างประเทศ มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่
5
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1.2  มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.3  จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Instructional Models of Cooperative Learning)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
1. ประเมินจากการรับผิดชอบในงานการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีเหตุผลในการวินิจฉัยปัญหา
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
1. การสอนแบบบรรยาย
2. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ G.I. (Group Investigation)
3. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
4. การสอนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
5. การสอนแบบชุมชนเป็นฐาน
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills)
3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
1. การสอนแบบบูรณาการ (Integration Instruction)
2. การสอนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
3. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
4. การสอนแบบชุมชนเป็นฐาน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1 สามารถประเมินตนเองได้
รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.3  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
2. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
3. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ G.I. (Group Investigation)
4. การสอนแบบชุมชนเป็นฐาน
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ  และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
5.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
5.2 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
1. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
1. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
2. การสอนแบบบูรณาการ (Integration Instruction)
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ  การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ  มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
2. การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้(Inquiry Process)
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 MSCPT306 การผลิตพืชและการตลาดพืชอินทรีย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,3.1,4.5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 20% 20%
2 2.2,3.1,4.3,4.4,5.2,5.3,6.1,6.2 การทำโครงงานกรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 35%
3 1.2,1.3,6.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 1.2,1.3 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1 - 16 5%
5 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1 - 16 5%
6 4.3,4.4,4.5 การประเมินด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 8 และ 17 5%
www.icaps.mju.ac.th/wtms_documentDownload.aspx?id=MjEzNDI=
gap.doa.go.th/web_manual/doc/RE/RE-7.pdf
www.acfs.go.th/certificate5.php
k-center.doae.go.th/getKnowledge.jsp?id=80
www.organicthailand.com/webboard_143630_1278_en
กรมวิชาการเกษตร. 2556. ทำไมต้องเกษตรอินทรีย์.
จาก http://www.doae.go.th/library/html/detail/nsfng/tummaikasad.htm
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2554. การผลิตพืชอินทรีย์.
จากhttp://it.doa.go.th/organic/index.html
เครือข่ายกสิกรรมไร้สารพิษแห่งประเทศไทย. 2557. การปรับปรุงดินโดยวิธีธรรมชาติ.
จาก http://www.asoke.info/04agriculture/ofnt/ appendix/oat/oat01.html
เครือข่ายสารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช. 2556. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม.
จาก http://www.thaipan.org/about
ชนวน รัตนวราหะ. 2545. เกษตรอินทรีย์. นนทบุรี: กรมวิชาการเกษตร, สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ.
ชนวน รัตนวราหะ และสุพจน์ ชัยวิมล. 2550. เกษตรกรรมยั่งยืน 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เจริญวิทย์การพิมพ์.
ธนรักษ์ เมฆขยาย, กฤษดา ภักดี, ยงยุทธ ศรีเกียวฝัน,ขยัน สุวรรณ, อุบล ทัศนโกวิท, สุวิชชา อินหนองฉาง.  2555. รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาการจัดการฟาร์มเกษตรอินทรีย์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกร ในอำเภอสันทรายจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
วิฑูรย์ ปัญญากุล และเจษณี สุขจิรัติกาล. 2548. สถานการณ์ตลาดเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธืสายใยแผ่นดิน.
Food and Agriculture Organization of the United Nations. (FAO). 2014. What is organic agriculture?. from http://www .fao.org/organicag/oa-faq/oa-faq1/en/
Ghorbani, R., Wilcockson, S., Koocheki, A., & Leifert, C. 2008. Soil management for sustainable crop disease control: A review. Environmental Chemistry Letters, 6(3), 177-201.
Hall, K. 2007. Ohio grain farmers’ attitudes toward organic and non-organic farming methods. Lubbock, TX: Graduate Student Texas Tech University Department of Agricultural Education & Communications.
Hall, K., & Rhoades, E. 2009. Influence of subjective norms and communication preferences on grain farmers’ attitudes toward organic and non-organic farming. Journal of Applied Communications, 94(3), 51-64.
Hamade, K., Midmore, P., & Pugliese, P. 2008. Institutions and policy development for organic agriculture in Western Balkan countries: A cross-country analysis. Paper presented at the Cultivating the future based on science 16th IFOAM Organic World Congress, Modena, Italy.
Haque, T. 2010. Impact of land leasing restrictions on agricultural efficiency and equity in India. Paper presented at the World Bank Annual Conference on Land & Poverty, Washington, DC.
Kotler, P., & Lee, N. 2005. Corporate social responsibility: Doing the most good for your company and cause. Hoboken, NJ: John Wiley & Sons.
Laepple, D., & Donnellan, T. 2008. Farmer attitudes towards converting to organic farming.Paper presented at the National Organic Conference 2008, Rural Economy Research Centre (RERC), Athenry, Ireland.
Lernoud, J., & Willer, H. 2013. Organic agriculture worldwide: Key results from the FiBL-IFOAM survey on organic agriculture worldwide2013. Retrieved February 25, 2013, from http://orgprints.org/22349/
Mun, N. L. 1971. Norman, introduction to psychology. Boston: Houghton Muffin. Oyesola, O., & Obabire, I. (2011). Farmers’ perception of organic farming in selected local government areas of Ekiti State, Nigeria. Journal of Organic Journal of Organic Systems, 6(1), 20-23.
Parra-López, C., & Calatrava-Requena, J. 2005. Factors related to the adoption of organic farming in Spanish olive orchards. Spanish Journal of Agricultural Research, 3(1), 5-16.
Pretty, J. N. 1995. Participatory learning for sustainable agriculture. World Development, 28, 1247-1263.
Sanders, J., Stolze, M., & Lampkin, N. 2008. Impact of agricultural liberalization on the relative importance of price premiums for the profitability of organic farming. Paper presented at the Cultivating the future based on science 16th IFOAM Organic World Congress, Modena, Italy.
Xiaohua, W., & Xiaohua, Y. 2011. Scale effects, technical efficiency and land lease in China. Paper presented at the EAAE 2011 Congress Change and Uncertainty Challenges for Agriculture, Food and Natural Resources August 30toSeptember 2, 2011 ETH, Zurich, Switzerland.
Zimbaro, P. G., Effesen, E. B., & Maslach, C. 1997. Influencing attitude and changing behavior. London: Addison-Wesley.
วิธีการขอรับรองมาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ แนวโน้มการตลาดและธุรกิจพืชอินทรีย์
คำสำคัญ organic, nutrient management