การผลิตโคเนื้อและกระบือ

Beef Cattle and Buffalo Production

1.1 นักศึกษาสามารถอธิบายความสำคัญและประโยชน์ของการเลี้ยงโคเนื้อและกระบือ
1.2 นักศึกษาสามารถคัดเลือกพันธุ์โคเนื้อและกระบือที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงในประเทศไทยได้
1.3 นักศึกษาสามารถจัดการด้านอาหารในระยะต่างๆ ของโคเนื้อและกระบือได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
1.4 นักศึกษามีความเข้าใจการจัดการระบบโรงเรือนที่เหมาะสมของโคเนื้อและกระบือ
1.5 นักศึกษาสามารถอธิบายสรีรวิทยาและจัดการวางแผนการผสมพันธุ์ระบบสืบพันธุ์ของโคเนื้อและกระบือได้
1.6 นักศึกษาสามารถป้องกันโรคและการสุขาภิบาลสัตว์ การจัดการระเบียบละบันทึกต่างๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
1.7 นักศึกษาสามารถจัดการด้านการตลาด- การจำหน่ายโคเนื้อ -กระบือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.8 นักศึกษามีความเข้าใจมาตรฐานฟาร์ม -เทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิตโคเนื้อ-กระบือที่เป็นประโยชน์ต่อการปศุสัตว์ทั้งในปัจจุบันและอนาคต
ไม่มี เนื่องเป็นการจัดทำครั้งแรก
ความสำคัญและประโยชน์ของการเลี้ยงโคเนื้อ-กระบือ พันธุ์โคเนื้อ กระบือ หลักและวิธีการคัดเลือกและการผสมพันธุ์ระบบการจัดการฟาร์มโคเนื้อ โรงเรือนและอุปกรณ์ อาหารและการให้อาหาร การจัดการฝูงสัตว์ โรคและการสุขาภิบาลสัตว์ระเบียบบันทึกต่างๆ การตลาดและการจำหน่าย กรณีศึกษาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิตโคเนื้อ-กระบือ
วันพุธ เวลา 9.00-12.00 น. ณ.ห้องสาขาวิชาสัตวศาสตร์
1.1.1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.2 มีจิตสำนึก และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ในการเสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 
1.1.3 มีวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.4 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม รวมทั้งเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1.5 มีคุณธรรม จริยธรรม เข้าใจคุณค่าของชีวิต มีอุดมการณ์ชีวิตที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม (คุณลักษะอันพึงประสงค์ :ซื่อสัตว์สุจริต มีระเบียบวินัย รับผิดชอบ มุมานะ ขยัน อดทน ใฝ่รู้ สู้งาน จิตสาธารณะ และวุฒิภาวะทางอารมณ์)
1.1.6 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน ตระหนัก ซาบซึ้ง และเห็นคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมนานาชาติ และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
1.2.1 สอดแทรกเรื่องจรรยาบรรณในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง โดยการยกตัวอย่างประสบการณ์ประกอบการสอน
1.2.2  ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.3 ฝึกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบผ่านการทำงานกลุ่ม โดยเน้นให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
 
1.3.1 ประเมินจรรยาบรรณ จากการสังเกต และแบบสอบถามหรือแบบประเมินที่เกี่ยวข้อง ระหว่างเรียน
1.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมการสอบที่เป็นไปอย่างสุจริต
1.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา เช่น การตรงเวลาในการเข้าชั้นเรียน การแต่งกายที่ถูกระเบียบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย จากการส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด ผลการประเมินตนเอง และสมาชิกกลุ่ม
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.1.3 มีความรู้และเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น พันธุศาสตร์ เภสัชศาสตร์ ฯลฯ
2.1.4 รู้จักตนเอง ท้องถิ่น สังคมไทยและสังคมโลก เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสังคม และสามารถแสวงหาทางควบคุมและดูแลความเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมได้
2.1.5 มีความรอบรู้ สามารถดูแลสุขภาวะของตนเองและปรับตัวให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขและพอเพียงภายใต้สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการป้องครองตามแบบวิถีไทยและวิถีโลก
2.2.1 ให้ภาพรวมของความรู้ก่อนเข้าสู่บทเรียน เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม วิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ
2.2.2 ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหาสาระ ได้แก่ การบรรยาย การทบทวน การฝึกปฏิบัติการ และเทคนิคการสอนอื่นๆ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.3 การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง จากการฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับหลักการผลิตสัตว์
2.3.1 ประเมินจากผลงานระหว่างเรียน เช่น การบ้าน รายงาน การสอบย่อย การนำเสนอผลงาน รายงานการค้นคว้า
2.3.2 ประเมินจากการสอบข้อเขียน การสอบปฏิบัติ
3.1.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้หลักการที่ได้เรียนมา ตลอดจนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในสถานการณ์จริง
3.1.2 สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างเป็นระบบและเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ และคำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาจากการตัดสินใจนั้น
3.1.3 สมารถแสวงหาความรู้มาสร้างประโยชน์ต่อสังคมได้
3.1.4 สามารถคิดอย่างเป็นระบบ เข้าใจปัญหา แก้ปัญหาได้ และสามารถคิดวิเคราะห์
3.2.1 มอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหาและกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
3.2.2 จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญา ให้ได้ฝึกคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ใหม่จากความรู้เดิมด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
3.2.3 การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
3.3.1 ประเมินจากผลงานการแก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมาย
3.3.2 ประเมินโดยการสอบข้อเขียนด้วยโจทย์ที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญา
4.1.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
4.1.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกของกลุ่ม
4.1.4 รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อสังคม
4.2.1 มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยที่สลับหมุนเวียนสมาชิกกลุ่ม และตำแหน่งหน้าที่ในกลุ่ม
4.2.2 ยกตัวอย่างผลกระทบของทักษะด้านนี้ที่มีต่อตนเองและสังคม โดยสอดแทรก ในเนื้อหาวิชาเรียน
4.3.1 ให้นักศึกษาประเมินตนเองและเพื่อนในชั้นเรียนโดยใช้แบบประเมิน สรุปผลการประเมินโดยใช้เสียงส่วนใหญ่
4.3.2 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนโดยบันทึกในแบบสังเกตพฤติกรรม
5.1.1 สามารถประยุกต์เทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.2 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการรวบรวม ข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนว ความคิด
5.1.3 สามรถคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลขได้อย่างเหมาะสม และใช้เป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจในการใช้ชีวิตประจำวัน
5.1.4 สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
5.1.5 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นเพื่อการแสวงหาความรู้ รู้เท่าทันและเลือกสรรสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ต่อตนเองเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณในรายวิชาที่ต้อง ฝึกทักษะ โดยผู้สอนต้องแนะนำวิธีการ ติดตามตรวจสอบงาน และตรวจแก้พร้อมให้คำแนะนำ
5.2.2 มอบหมายงานที่ต้องมีการเรียบเรียงนำเสนอเป็นภาษาเขียน และที่ต้องมีการนำเสนอด้วยวาจาทั้งแบบปากเปล่าและใช้สื่อประกอบการนำเสนอ
5.2.3 มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยี
5.3.1 ประเมินจากผลงานกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสืบค้น ข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายแต่ละบุคคล
5.3.2 ประเมินทักษะทางภาษาอังกฤษจากการแปลเอกสารทางวิชาการ
5.3.3 ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาเขียนจากรายงานแต่ละบุคคลหรือรายงาน กลุ่มในส่วนที่นักศึกษานั้นรับผิดชอบ
5.3.4 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.1.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.1.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
6.2.1 ให้รับผิดชอบดูแล การเลี้ยงโคเนื้อและกระบือให้มีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น
6.3.1 ตรวจชั่งน้ำหนักโคเนื้อและกระบือในก่อนเลี้ยง และหลังเลี้ยง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.2 มีจิตสำนึก และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ในการเสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.4 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม รวมทั้งเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1.5 มีคุณธรรม จริยธรรม เข้าใจคุณค่าของชีวิต มีอุดมการณ์ชีวิตที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม (คุณลักษะอันพึงประสงค์ : ซื่อสัตว์สุจริต มีระเบียบวินัย รับผิดชอบ มุมานะ ขยัน อดทน ใฝ่รู้ สู้งาน จิตสาธารณะ และวุฒิภาวะทางอารมณ์) 1.6 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน ตระหนัก ซาบซึ้ง และเห็นคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมนานาชาติ และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา 2.2 สามารถบูรณาการความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.3 มีความรู้และเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น พันธุศาสตร์ เภสัชศาสตร์ ฯลฯ 2.4 รู้จักตนเอง ท้องถิ่น สังคมไทยและสังคมโลก เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสังคม และสามารถแสวงหาทางควบคุมและดูแลความเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมได้ 2.5 มีความรอบรู้ สามารถดูแลสุขภาวะของตนเองและปรับตัวให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขและพอเพียงภายใต้สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการป้องครองตามแบบวิถีไทยและวิถีโลก 3.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้หลักการที่ได้เรียนมา ตลอดจนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในสถานการณ์จริง 3.2 สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างเป็นระบบและเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ และคำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาจากการตัดสินใจนั้น 3.3 สามารถแสวงหาความรู้มาสร้างประโยชน์ต่อสังคมได้ 3.4 สามารถคิดอย่างเป็นระบบ เข้าใจปัญหา แก้ปัญหาได้ และสามารถคิดวิเคราะห์ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 BSCAG224 การผลิตโคเนื้อและกระบือ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบย่อย 5 ครั้งโดยนัดหมายวันทดสอบ ข้อสอบอัตนัย 2-8 และ 10-16 10
2 การเขียนรายงานตามบทปฏิบัติการที่มอบหมาย ตรวจรายงาน 2-16 30
3 การสอบกลางภาค ข้อสอบอัตนัย และปรนัย 9 25
4 การสอบปลายภาค ข้อสอบอัตนัย และปรนัย 17 25
5 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชา การสังเกต การเช็คชื่อเข้าห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
เทวินทร์ วงษ์พระลับ พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา บัญญัติ เหล่่าไพบูลย์ ภาวดี ภักดี สุรเดช พลแสน กฤตพล สมมาตย์ วิโรจน์ ภัทรจันดา และ ธีรชัย หายทุกข์. 2553. หลักการผลิตสัตว์เบื้องต้น. สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หจก.โรงพิมพ์ลังนานาวิทยา. ขอนแก่น. 348 น.
AOAC 1990. Association of Official Analytical Chemists (AOAC). Official Methods of Analysis. 15 th edition AOAC inc. Earlington, Virginia, USA.
Liu, Wenhua, Yuen, Eunice Y. and Yan, Zhen 2010. The stress hormone corticosterone increases synaptic – amino – 3 – hydroxyl – 5 - methyl – 4 -isoxazolepropionic acid (ampa) receptors via serum - and glucocorticoid -inducible kinase (sgk) regulation of the gdi - rab4 complex. J. Biol. Chem. 285(9), 6101–6108.
Marai, I.F.M. and Habeeb, A.A.M. 2010. Buffalo's biological functions as affected by heat stress — A review. Livestock Science 127, 89–109.
Megahed, G.A., Anwar, M.M., Wasfy, S.I. and Hammadeh, M.E. 2008. Influence of heat stress on the cortisol and oxidant-antioxidants balance during oestrous phase in buffalo-cows (Bubalus bubalis): thermo-protective role of antioxidant treatment Reprod. Dom. Anim. 43, 672–677.
NRC (National Research Council). 2001. Nutrient Requirements of Dairy Cattle, 7th edn. National Academic of Sciences, Washington, DC.
Roman-Ponce H, Thatcher WW, Buffington DE, Wilcox CJ, Van Horn HH. 1977. Physiological and production responses of dairy cattle to a shade structure in a subtropical environment. Journal of Dairy Science 60, 424–430.
SAS Institute. 1999. SAS/STAT ® User’s Guide V. 9. Cary NC, SAS Institute Inc. 3884 p.
Singh SP, Newton WM. 1978. Acclimation of young calves to high temperatures: composition of blood and skin secretions. American Journal of Veterinary Research 39, 799–801.
Steel, R.G.D. and Torrie, J.H. 1980. Principles and Procedure of Statistics, 3rd ed., Macmillan Publishing Co., Inc., New York, 521 p.
Stott, G.H., F. Wiersma, B.E. Menefee and F.R. Radwanski. 1976. Influence of environment on passive immunity in calves. J. Dairy Sci. 59: 1306-1311.
Thatcher WW, Roman-Ponce H, Buffington DE. 1978. Environmental effects on animal performance. Large Dairy Herd Management, pp. 219–230. University Press of Florida, Gainesville.
Thatcher WW. 1974. Effects of season, climate, and temperature on reproduction and lactation. Journal of Dairy Science 57, 360–368.
Thomas, C.S. 2005. Milking management of dairy buffaloes. PhD thesis, Swedish University of Agricultural Sciences, Uppsala, Sweden.
Turner LW, Chastain JP, Hemken RW, Gates RS, Christ WL. 1992. Reducing heat stress in dairy cows through sprinkler and fan cooling. Applied Engineering in Agriculture 8, 251–256.
Van Soest PJ, Roberts JB, Lewis BA. 1991. Methods for dietary fiber, neutral detergent fiber and non-starch polysaccharides in relation to nutrition. Journal of Dairy Science 74, 3583–3597.
Webster, C.C. and Wilson, P.N. 1980. Agriculture in the Tropics. Longman, London. UK, pp. 390–400.
West Australian Department of Local Government and Regional Development, 2003. Code of practice for farmed buffalo in Western Australia. Published by the Department of Local Government and Regional Development Western
Australia. Available at: http://www.dlgrd.wa.gov.au
Wolfenson D, Roth Z, Meidan R. 2000. Impaired reproduction in heat-stressed cattle: basic and applied aspects. Animal Reproduction Science 60–61, 535–547.
Zhengkang, H., Zhenzhong, C., Shaohua, Z., Vale, W.G., Barnabe, V.H., Mattos, J.C.A. 1994. Rumen metabolism, blood cortisol and T3, T4 levels and other physiological parameters of swamp buffalo subjected to solar radiation. Proc. IVth World Buffalo Cong., San Paulo, Brazil, vol. 2, pp. 39–40
 
กรมปศุสัตว์ (http://www.did.com)
Animal science (http://www.Animal science.com)
สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (www.nrct.net/)
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (www.inet.co.th/org/trf/)
เครือข่ายการศึกษา (www.school.net.th/)
www.riclib.nrct.go.th (มีรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ์กว่า 100,000 ชื่อ)
www.thaiedresearch.org
1. สนทนาสอบถามความคิดเห็นนักศึกษาเป็นรายคนและเป็นกลุ่ม
2. การใช้แบบประเมินการเรียนการสอนช่วงกลางภาคเรียน
3. รับฟังความคิดเห็นผ่าน
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
2. ทดสอบวัด ผลการเรียนของนักศึกษาระหว่างเรียน
3. การตรวจงานที่มอบหมาย
1.  ปรับปรุงการเรียนการสอนโดยอาศัยผลการประเมิน
1. ระหว่างเรียนสุ่มตรวจสอบความรู้นักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ
2. หลังจากส่งผลการเรียนแล้วสุ่มตรวจสอบความรู้นักศึกษาโดยวิธีการสัมภาษณ์
1.  นำผลการประเมินมาปรับปรุงวิธีการสอน เนื้อหา