ปฏิบัติการวิศวกรรมอุตสาหการ

Industrial Engineering Laboratory

1. ฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลาในการทำงาน วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิต่างๆ ศึกษาองค์ประกอบของเวลาที่ใช้ทำงานหนึ่งๆ การจับเวลาการเคลื่อนไหวอย่างละเอียด เวลามาตรฐาน การสุ่มงาน และสิ่งที่ช่วยสนับสนุนในการศึกษางาน 2. ฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการบำรุงรักษาแบบทวีผล 3. ฝึกปฏิบัติการในรายวิชา การควบคุมคุณภาพ 4. ฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการวางแผนและควบคุมการผลิต 5. ฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม 6. ฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิจัยดำเนินงาน 7. เข้าใจและรู้จักประยุกต์ใช้เครื่องมือต่างๆในการแก้ปัญหาในงานอุตสาหกรรมได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือและเทคโนโลยีต่างๆมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์งานได้จริง
เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลาในการทำงาน วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิต่างๆ ศึกษาองค์ประกอบของเวลาที่ใช้ทำงานหนึ่งๆ การจับเวลาการเคลื่อนไหวอย่างละเอียด เวลามาตรฐาน การสุ่มงาน และสิ่งที่ช่วยสนับสนุนในการศึกษางาน และฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการบำรุงรักษาแบบทวีผล ปฏิบัติการในรายวิชา การควบคุมคุณภาพ การวางแผนและควบคุมการผลิต การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมและการวิจัยดำเนินงาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบวินัยและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
อาจารย์เป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษา มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่นการเข้าเรียนตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น
3.1 ประเมินผลจากการเข้าเรียน 1.3.2 ประเมินผลการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตและตรงเวลา 1.3.3 สังเกตพฤติกรรมการตอบข้อซักถามและการยกตัวอย่างเปรียบเทียบใน ด้านการรักษากฎระเบียบวินัยในการอยู่ร่วมกันในสังคมองค์กรให้เห็นความมีคุณค่า มีเกียรติ รู้สึกภูมิใจในตนเองและสถาบัน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.1.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยายหลักการ ทฤษฎี ตามคำอธิบายรายวิชา ยกตัวอย่างประกอบเพื่อความเข้าใจ 2.2.2 เน้นให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริง 2.2.3 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม 2.2.4 สรุปเนื้อหาบทเรียน
ตรวจแบบฝึกหัด ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบ
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
มอบหมายงานให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติงานด้วยตนเอง
3.3.1 พิจารณาจากผลงานที่มอบหมาย 3.3.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
4.1.1 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานที่มอบหมายทั้งบุคคลและกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2.1 มอบหมายงานให้ทำร่วมกันเป็นกลุ่ม, รายบุคคล และมีการนำเสนองานแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น
พิจารณาจากผลงานของกลุ่ม  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการเรียนและการนำเสนอผลงาน
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.2.1 นำเสนอผลงานในชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2.2 อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2.3 อธิบายวิธีการใช้เครื่องคำนวณในส่วนของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
5.3.1 ผลจากการประเมินการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5.3.2 ผลจากการสังเกตพฤติกรรม ในการอภิปรายกลุ่มโดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 2 1 2
1 ENGIE121 ปฏิบัติการวิศวกรรมอุตสาหการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 2.1.2 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 20%
2 3.1.1 สอบปลายภาค 16 20%
3 1.1.1 การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาค 10%
4 1.1.2 5.1.1 แบบฝึกหัด การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 3.1.2 4.1.1 5.1.1 ศึกษาค้นคว้าและทำโปรเจคย่อย การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 30%
เอกสารประกอบการสอน
แบบประเมินผู้สอน
ดูจากผลงานของนักศึกษา
ปรับปรุงวิธีการสอน หรือแนวทางการสอน
จากคะแนนสอบและผลงานของนักศึกษา
ก่อนภาคเรียนที่มีการสอนครั้งต่อไป