การเขียนโปรแกรมบนเว็บ

Web Programming

เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์อินเทอร์เน็ต ในฝั่งแม่ข่ายและลูกข่าย สามารถจัดการระบบฐานข้อมูล ให้ทำงานร่วมกัน ตลอดจนเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยให้กับระบบที่พัฒนาขึ้น และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ตามความเหมาะสม ตระหนักถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่มีผลกระทบต่อสังคม
เพื่อให้เนื้อหาในการเรียนการสอน ครอบคลุมเทคโนโลยี และเทคนิคการเขียนโปรแกรมบนเว็บ ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับการสร้างโปรแกรมบนเว็บและสามารถข้ามแพลตฟอร์ม (Cross-Platform) หรือสภาพแวดล้อมของระบบคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันได้ และนำความรู้ ความเข้าใจ เป็นส่วนหนึ่งในการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หรือสาขาวิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีเครือข่าย ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ต โพรโตคอล HTTP กลไกจัดการการร้องขอในเว็บเซิร์ฟเวอร์ การเขียนโปรแกรมแบบ CGI และการสร้างหน้าเว็บแบบพลวัต การใช้งานคุกกี้ การติดต่อเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล การปรับแต่งประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการใช้งาน การเขียนโปรแกรมในฝั่งของ Client เช่น HTML, CSS, Javascript และฝั่งของ Server เช่น PHP, ASP, JSP, AJAX เป็นต้น
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษา เป็นกลุ่มหรือเฉพาะราย ตามความต้องการ ผ่าน เครื่องมือการสื่อสารออนไลน์  https://www.facebook.com/groups/310903312254221
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา พัฒนาผูเรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล
การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟต์แวร์   และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ ในการดูแล จัดการเครือข่าย อย่างมีคุณภาพ  โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์ สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผูนําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแยง และ ลําดับความสําคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอ่างกรณีศึกษา เกี่ยกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ต
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
 
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอผลงานการเขียนโปรแกรมที่มอบหมาย
 
เข้าใจและวิเคราะห์หลักการและทฤษฏีพื้นฐานด้านการเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ต สามารถนำไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านการเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ตได้ เข้าใจและวิเคราะห์หลักการของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลเช่น หลักเศรษฐศาสตร์ หลักกฎหมาย หัลกการจัดการ เป็นต้น และสามารถนำมาประยุกต์หรือเป็นพื้นฐานของฐานข้อมูล สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและ วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้
- ใช้รูปแบบในการสอนที่หลากหลาย โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดวิเคาาะห์ด้วยตนเอง
- บรรยายรูปแบบวิธีเขียนคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ระบบเว็บ อธิบายการทำงานของระบบเม่ข่าย/ลูกข่าย ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด วิเคราะห์และออกแบบระบบเว็บแอดพพลิเคชั่น โดยสืบค้นเทคนิควิธีการจากเว็บไซต์ต่างๆ จากอินเทอร์เน็ต
2.3.1 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
2.3.2 ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและรายงาน
2.3.3 สัเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าเรียน
2.3.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.5 การทำแบบฝึกหัด มอบหมายงานพัฒนาระบบเว็บแอพพลิเคชัน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการพัฒนาโปรแกรม
3.2.1 ฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษา โดยเริ่มต้นจากปัญหาที่ง่ายและเพิ่มระดับความยากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้ต้องจัดให้เหมาะสม และสอดคล้องกับรายวิชา
3.2.2 ฝึกการทำโครงงานในด้านการแก้ปัญหาจากสถานการณ์จำลอง
3.3.1 สอบกลางภาคและ ปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 วัดผลการประเมินจากรายงานโครงการ และการนำเสนอผลงาน
3.3.3 ผลงานของนักศึกษา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธ์ภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพสิทธิ และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.2.2 แบ่งหน้าที่ที่รักผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.3 ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
4.2.4 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปราย
4.2.5 ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
4.3.1 สังเกตจากการทำงานและมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย
4.3.4 สังเกตจากการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
4.3.5 สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่นการส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น Web Baord Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E-Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติออ้างอิง จากแหล่งที่มา ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
 
6.1.1 สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
6.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
6.1.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ และวัฒนธรรมองค์กร ที่ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
6.1.4 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
6.1.5 มีภาวะความเป็นผู้นำ
6.2.1 ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6.2.2 แบ่งหน้าที่ที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
6.2.3 ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
6.2.4 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปราย
6.2.5 ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการทำงานเป็นกลุ่ม
6.3.1 สังเกตจากการทำงานและมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม
6.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
6.3.3 การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย
6.3.4 สังเกตจากการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
6.3.5 สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม 1.3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้องหาสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2.2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3. สามารถวิเคราะห์ ออกแบบตัิดตั้งปรับปรุ่งและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบเทคโนโลยีอุตสาหกรรมให้ตรงตามข้อกำหนด 2.4. สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.5. รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.6. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีต่างๆ 2.7. มีประสบการณ์ในกาพัฒนาและ /หรือการประยุกต์ใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ใช้งานได้จริง 2.8. สามารถบูรณรการความรู้ในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2. สามารถสืบค้น ตีความและประเมินอุตสาหกรรมโดยใช้สารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางอุตสาหกรรมได้อย่างเหมาะสม 4.1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2. สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานกาณณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.3. สามารถใช้ความรู้ในศสาตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างเหมาะสมของตนเองและของกลุ่ม 4.6.มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางิวชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่างๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรมร่วมกัน 5.1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2. สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาดดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแแบของสื่อการนำเสนอ อย่างเหมาะสม 5.4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม 6.1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGCE176 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.11,1.6,1.7,2.1,2.4-2.6,3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 , สอบกลางภาค , ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 , สอบปลายภาค 4, 8, 12, 16 10%, 25%, 10%, 25%
2 1.1,1.6,1.7,2.1,2.4-2.6,3.2,4.1-4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน , การทำงานกลุ่มและผลงาน , การอ่านและสรุปบทความ, การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน, การมีส่วนร่วม , การอภิปราย , เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
[1] Christian Wenz. PHP PHRASEBOOK ESSENTIAL CODE AND COMMANDS. USA: Sams, 2005.
[2] David Sklar and Adam Trachtenberg. PHP Cookbook, 2nd Edition. USA: O'Reilly Media, 2006.
[3] Elliot White III and Jonathan Eisenhamer. PHP 5 in Practice. USA: Sams, 2006.
[4] Jim Keogh. JavaScript Demystified. Osborne: McGraw-Hill, 2005.
[5] W. Jason Gilmore. Beginning PHP and MySQL 5 From Novice to Professional SecondEdition. New York: Springer-Verlag, 2006.
[6] กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. คัมภีร PHP. พิมพ ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ แอนด คอนซัลท , 2547.
[7] กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และคณะ. PHP ฉบับโปรแกรมเมอร . กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ แอนด คอนซัลท , 2545.
[8] ชาตพล นภาวารี. JavaScript & Web Design. กรุงเทพฯ: เอส พี ซี บุคส , 2543.
[9] ไพศาล โมลิสกุลมงคล. พัฒนา Web Database ดวย PHP. พิมพ ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: หจก.ไทยเจริญการ พิมพ จากัด, 2538.
[10] สมศักดิ์ โชคชัยชุติกุล. อินไซท PHP 5. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น, 2547.
- มาตรฐานโพรโตคอล HTTP
- มาตรฐานการเขารหัส ไดแก ISO, Unicode, TIS
- เว็บไซต php.net, mysql.com, w3school
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คําอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาไดดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหวางผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ ผู้สอนได้จัดทําเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้รวมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุมตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปื หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ