การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหารและกฎหมายอาหาร

Food Industrial Plant Sanitation and Food Law

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 มีความรู้พื้นฐานด้านสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร
1.2 มีความรู้โปรแกรมพื้นฐานในการจัดการสภาวะแวดล้อมสำหรับกระบวนการผลิตอาหาร สุขอนามัยส่วนบุคคล กฎหมายอาหาร
1.3 ทราบกฎข้อบังคับและกฎหมายของประเทศไทย และระหว่างประเทศ
1.4 ทราบระเบียบและขั้นตอนในการขอจัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบโรงงาน และการติดตั้งเครื่องมืออุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารให้ถูกหลักสุขาภิบาล สุขลักษณะในการผลิตอาหาร การเก็บรักษาและการขนส่งอาหารสุขลักษณะส่วนบุคคล กลไกการทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อ การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค การจัดการน้ำใช้ในโรงงาน การจัดการของเสียและกฎหมายอาหาร
ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการออกแบบโรงงาน และการติดตั้งเครื่องมืออุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารให้ถูกหลักสุขาภิบาล สุขลักษณะในการผลิตอาหาร การเก็บรักษาและการขนส่งอาหารสุขลักษณะส่วนบุคคล กลไกการทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อ การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค การจัดการน้ำใช้ในโรงงาน การจัดการของเสียและกฎหมายอาหาร
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
˜1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
š1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
˜1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
š1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กำหนดให้นักศึกษาทุกคนต้องมีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ การตรงต่อเวลาที่กำหนด และแนะนำถึงผลดีของการตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้นักศึกษามีระเบียบวินัยในการเข้าชั้นเรียน โดยอาจารย์เข้าชั้นเรียนตรงต่อเวลา และเลิกชั้นเรียนตรงต่อเวลา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 BSCFT004 การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหารและกฎหมายอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
สุดสาย ตรีวานิช. การสุขาภิบาลโรงงานอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศิวาพร ศิวเวช. การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ
อาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พาขวัญ ทองรักษ์. การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหารและกฎหมายอาหาร. คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
จุฬาภรณ์ เลิศบวรวงศ์. สุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร. ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย : ข้อกำหนด
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มกอช. 9024-25503.
บทความเกี่ยวกับระบบคุณภาพในอุตสาหกรรมอาหารจากเว็บไซต์ต่างๆ เช่น
www.fda.moph.go.th
www.foodfti.com/
www.tisi.go.th/
www.foodnetworksolution.com/wiki/word/335/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  
     1.2  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา  
ผลการเรียนของนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข