เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์

Computer Drawing Practices

 1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในงานเขียนแบบเครื่องกล                
2. เพื่อให้สามารถเขียนภาพแยกชิ้นส่วน และภาพประกอบชิ้นส่วนเครื่องกล การกำหนดขนาด สัญลักษณ์ จัดทำตารางรายการวัสดุและเขียนภาพการน ำเสนองาน                
3. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการท างานที่มีระเบียบแบบแผน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ ส่วนรวม
 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ในงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเกษตร ทั้งด้าน การออกแบบ เขียนแบบ  การนำเสนองาน  โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้อง  เช่น AutoCAD , Solid Works  หรือโปรแกรมอื่น ๆ 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้คอมพิวเตอร์ในงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเกษตร ทั้งด้านการออกแบบ เขียนแบบ  การนำเสนองาน  โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปที่เกี่ยวข้อง  เช่น AutoCAD , Solid Works  หรือ โปรแกรมอื่น ๆ 
-
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อ เวลาและความรับผิดชอบต่อ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปราย กลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ    
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ    
8. การสอนแบบบรรยาย   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การเขียนบันทึก
4.โครงการกลุ่ม
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน 
1 มีความรู้และความเข้าใจ ทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา
2 สามารถติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการและ เทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3 สามารถบูรณาการความรู้ ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)  
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการอภิปราย กลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยการอภิปราย กลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)  
6. การสอนแบบ Tutorial Group
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ    
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม 4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การฝึกตีความ
8.ข้อสอบอัตนัย
9. ข้อสอบปรนัย
10.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
11.การประเมินตนเอง
12.การประเมินโดยเพื่อน
1 มีทักษะปฏิบัติจากการ ประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้าน วิชาการหรือวิชาชีพ
2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)  
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ    
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ    
8. การสอนแบบบรรยาย  
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.แฟ้มสะสมงาน
4.การเขียนบันทึก
5.โครงการกลุ่ม
6.นิทรรศการ
7.การสังเกต
8.การนำเสนองาน
9.การฝึกตีความ
10.ข้อสอบอัตนัย
11. ข้อสอบปรนัย
12.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
13.การประเมินตนเอง
14.การประเมินโดยเพื่อน
1  มีมนุษยสัมพันธ์และ มารยาทสังคมที่ดี
2  มีภาวะความเป็นผู้น า และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้ อย่างเหมาะสม
4  สามารถใช้ความรู้ใน ศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน ประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปราย กลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนโดยการอภิปราย กลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)  
3. การสอนแบบ Tutorial Group
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ    
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ    
8. การสอนแบบบรรยาย  
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน 
1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 
3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
การแนะน าเทคนิคการสืบค้น ข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการ สืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ การน าเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.การนำเสนองาน
2.การประเมินตนเอง
3.การประเมินโดยเพื่อน 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 1 2 1
1 TEDIE911 เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,3.1.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 15 10
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk AutoCAD 2016 ส านักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk AutoCAD 2014 ส านักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง,บจก.
จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ และ สมชาย ชูแก้ว  กรุงเทพฯ  คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2008  ส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น),  
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2012 ส านักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ กรุงเทพฯ คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor 2015 ส านักพิมพ์ เดอะไลบรารี พับลิชชิง, บจก.
จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ และ สมชาย ชูแก้ว  กรุงเทพฯ  คู่มือการใช้โปรแกรม Autodesk Inventor(Profrestional) 2012  ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น),
-
-