หัวข้อพิเศษทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Special Topic in Information Technology

1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและค้นคว้างานวิจัยหรือวิทยาการด้านคอมพิวเตอร์
    1.2 เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการระหว่างนักศึกษาด้วยกันเอง และอาจารย์
    1.3 เพื่อให้นักศึกษาฝึกฝนและเรียนรู้การเสนองานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ให้ผู้อื่นเข้าใจใน
           สิ่งที่ตนเองได้ไปศึกษาค้นคว้ามา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ          ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาองค์ความรู้ด้านนวัตกรรม เทคนิค อุปกรณ์ที่ทันสมัย รวมถึงหัวข้อสนทนาการวิจัยทาง
ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งกำลังเป็นที่สนใจ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ  
1.1.1 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม (1.5)
2.1บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการเขียนรายงานโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 

1.2.2 ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงร่างของโครงงาน การเขียนรายงาน และการนำเสนอ   
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่างๆ      และนักศึกษาทุกคนต้องมีหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านการอนุมัติแล้ว คนละ 1 หัวข้อ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลจากการนำเสนอหัวข้อโครงงาน และความก้าวหน้าของโครงงาน ฯ
1.3.4   ประเมินผลจากเอกสารรายงานความก้าวหน้าของโครงงานฯ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเเละทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
             2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง ประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา
             2.1.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
             2.1.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไป ประยุกต์
             2.1.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
             2.1.6  มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
            2.1.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
            2.1.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ  ให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อหาหัวข้อโครงงาน ฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานและการนำเสนอ      นำเสนอความก้าวหน้าของโครงงานฯ ต่อคณะกรรมการ ที่คณะ ฯ แต่งตั้ง
2.3.1 สอบหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ   และสอบความก้าวหน้าของโครงงานที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการที่คณะฯ แต่งตั้ง
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอหัวข้อโครงงาน การนำเสนอความก้าวหน้าของโครงงานและรายงานโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 บท
3.1.1  คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.1.2  สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่าง สร้างสรรค์
3.1.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่าง เหมาะสม
3.2.1   การกำหนดให้นักศึกษาทุกคนต้องมีหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยต้องนำเสนอโครงร่าง สอบหัวข้อโครงงาน สอบความก้าวหน้าของโครงงานต่อคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะ ฯ
3.2.2   นำเสนอหัวข้อโครงงานที่จะทำและตอบคำถามจากคณะกรรมการ
3.2.3   นำเสนอการวิเคราะห์และออกแบบระบบโครงงานฯ ที่ทำต่อคณะกรรมการ
3.3.1   สอบหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ   และสอบความก้าวหน้าของโครงงานที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการที่คณะฯ แต่งตั้ง
2.3.2   ประเมินผลจากการนำเสนอต่อคณะกรรมการ และรายงานโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 บท
2.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาและตอบคำถามระหว่างการนำเสนอ
4.1.1  สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ ต่าง ๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.1.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายให้ค้นคว้าและหาหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.2.3   การนำเสนอหัวข้อโครงงานและความก้าวหน้าของโครงงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือ การแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบ ของสื่อการนำเสนอ อย่าง เหมาะสม
5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และสร้างโปรแกรมตามแนวคิดมาเป็นรูปแบบผลงานซอฟต์แวร์  และทำรายงานรูปเล่มรวบรวมผลงานโดยเน้นการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล และเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและวิทยาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน ผลงาน  และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย  วิธีการตอบ และการเขียนโปรแกรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลละความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 4 6 7 3 5 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 22109409 หัวข้อพิเศษทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบหัวข้อโครงงาน ผลประเมินจากคณะกรรมการ 5-6 30%
2 สอบความก้าวหน้าของโครงงาน ผลสอบจากคณะกรรมการ 15 40%
3 รูปเล่มรายงานของโครงการ บทที่ 1-3 คุณภาพรูปเล่มรายงานของโครงการ 17 20%
4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน จำนวนการเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- หนังสือเนื้อหาวิทยาการทางคอมพิวเตอร์ทุกเล่มที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อระบบงาน
- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, คู่มือการพิมพ์รูปเล่มปริญญานิพนธ์, 2552.  
- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, คู่มือการพิมพ์รูปเล่มปริญญานิพนธ์, 2552.  
- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, คู่มือการพิมพ์รูปเล่มปริญญานิพนธ์, 2552.  
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ