การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

System Analysis and Design

    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของระบบ ภาพรวมและประเภทของระบบ วงจรการพัฒนาระบบ การกำหนดปัญหาและการศึกษาความเป็นไปได้ การรวบรวมความต้องการ แบบจำลองกระบวนการ การออกแบบ การนำไปใช้และการบำรุงรักษา การวิเคราะห์ออกแบบเชิงวัตถุ ยูสเคสไดอะแกรม คลาสไดอะแกรม สเตทและแอคติวิตีไดอะแกรม แพคเกจไดอะแกรม สามารถออกแบบระบบสารสนเทศตามวงจรการพัฒนาระบบ โดยใช้โปรแกรมและเครื่องมือช่วยในการพัฒนาระบบสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
      เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ  เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบการเรียนวิชาโครงการนักศึกษาและใช้ในการทำงานในอนาคต
   ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของระบบ ภาพรวมและประเภทของระบบ วงจรการพัฒนาระบบ การกำหนดปัญหาและการศึกษาความเป็นไปได้ การรวบรวมความต้องการ แบบจำลองกระบวนการ การออกแบบ การนำไปใช้และการบำรุงรักษา การวิเคราะห์ออกแบบเชิงวัตถุ ยูสเคสไดอะแกรม คลาสไดอะแกรม สเตทและแอคติวิตีไดอะแกรม แพคเกจไดอะแกรม ฝึกปฏิบัติการตามวงจรการพัฒนาระบบ โปรแกรมและเครื่องมือช่วยของวงจรการพัฒนาระบบที่เหมาะสม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต (1.1) 1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา  และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (1.2) 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  สามารถทำงานเป็นทีม  และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ (1.3)
- มอบหมาย และชี้แจงข้อกำหนดในการส่งงาน เพื่อฝึกในเรื่องการตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
-  สอดแทรกคุณธรรม และจริยธรรมในระหว่างการพูดคุยซักถามปัญหา และให้คำปรึกษา
พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน  อย่างถูกต้องและเหมาะสม ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา

ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (2.1) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา (2.2)
- บรรยายประกอบสื่อ
- ทำแบบฝึกหัด
- มอบหมายให้ทำงานกลุ่ม  
สอบกลางภาค  สอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  และการนำเสนองานกลุ่ม
คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ (3.1) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหา (3.2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ (3.3)
มอบหมายงานกลุ่มที่ต้องวิเคราะห์และออกแบบระบบ   

- นำเสนอผลงาน
สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ

ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (4.1)
- มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเอง และรับผิดชอบงานในกลุ่ม  (4.4)
มอบหมายงานกลุ่มในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ

- การนำเสนอผลงาน 
ประเมินตนเองและเพื่อนตามแบบฟอร์มที่กำหนด ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (5.1) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม (5.3)
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  และงานกลุ่ม นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
ประเมินจากรายงาน  และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลละความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 8 1 2 3 1 4 1 3
1 BSCCT303 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การสอบกลางภาค คะแนนสอบกลางภาค 8 30%
2 การสอบปลายภาค คะแนนสอบปลายภาค 17 30%
3 แบบฝึกหัด การนำเสนองานกลุ่มตามที่มอบหมาย ใบงานการทดลอง จำนวนแบบฝึกหัดที่ส่ง การนำเสนองานกลุ่ม จำนวนใบงานการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน จำนวนการเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design). บริษัท  ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2544. ผศ.สกาวรัตน์ จงพัฒนากร. การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2550. กิตติ  ภักดีวัฒนะกุลและคณะ. คัมภีร์การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์ : กรุงเทพฯ, 2546.
    - สไลด์ประกอบการสอน แบบฝึกหัด และเอกสารอ่านเพิ่มเติมในเว็บไซต์
- เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
           - หนังสือที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
แบบประเมินผู้สอน  และแบบประเมินรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษาสอบถามผลการสอบเพื่อทราบถึงข้อผิดพลาด  และสามารถนำไปปรับปรุงตนเองและเตรียมพร้อมในการสอบครั้งต่อไป
ผลการเรียนของนักศึกษา ผลงานกลุ่มของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
              -  พัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ e-learning
              -  การวิจัยในชั้นเรียน
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น  หรือผู้ทรงคุณวุฒิ มีการตั้งกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา  โดยตรวจสอบข้อสอบ  รายงาน  วิธีการให้คะแนน  และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี  หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4

เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองที่หลากหลายมากขึ้น