ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

Management Information System

          1.1 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศในงานธุรกิจ
          1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
          1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศและสามารถประเมินผลระบบให้เข้ากับองค์กรได้
          1.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถเลือกใช้ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับโครงสร้างองค์กรได้
    1.5  เพื่อฝึกออกแบบหรือพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าระบบสารสนเทศในงานธุรกิจและสามารถใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร สามารถประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศและสามารถประเมินผลระบบให้เข้ากับองค์กรได้ สามารถเลือกใช้ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับโครงสร้างองค์กรได้ตลอดจนสามารถออกแบบหรือพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการได้
ศึกษาเกี่ยวกับองค์กรและโครงสร้างพื้นฐานของระบบสารสนเทศในองค์กร การประยุกต์ใช้ วิธีการจัดการเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ของระบบสารสนเทศ การใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศในงานด้านต่างๆ ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องหรือฝึกพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในองค์กร เพื่อเตรียมความพร้อมของการเป็นผู้ประกอบการ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม (1.2)
 1.1.2 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม (1.5)
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในกิจกรรมคาบเรียน โดยเน้นความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต การส่งงานตรงเวลาที่กำหนด การเข้าเรียนตรงเวลา
1.2.2 กำหนดกฎระเบียบ แนวทางการปฏิบัติตัว ให้ถูกต้องตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย และข้อตกลงการเรียนการสอนประจารายวิชา
1.3.1    ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2    ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3    ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4     ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเเละทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชา          เทคโนโลยีสารสนเทศ (2.1)
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง และฝึกปฏิบัติ
2.2.2 อภิปรายหลังการทำกิจกรรม
2.2.3 การทำงานเดี่ยว และงานกลุ่ม และศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม
2.2.4 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning)
2.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาคที่เน้นหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจ วิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินค่า
2.3.2 ประเมินผลจากคะแนนที่นักศึกษาได้รับ
 3.1.1 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (3.2)
    3.2.1 มอบหมายงานเพื่อให้นักศึกษาหาคำตอบ ในคาบตามเรื่องที่เรียน พร้อมอภิปราย   
    3.2.2 ทำแบบฝึกหัด หรือ ทดสอบย่อย
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นการคิดวิเคราะห์
3.3.2 ทำกิจกรรมในคาบเรียน
4.1.1 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม (4.1)
4.2.1 จัดกิจกรรมในคาบเรียน
4.2.2 มอบหมายงานทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 เช็คชื่อทุกครั้งเข้าชั้นเรียน
  4.3.1 นักศึกษาประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรียนในเรื่องความรับผิดชอบ กระตือรือร้น การเข้าใจเนื้อหาที่เรียน และความพึงพอใจ
 4.3.2 ประเมินผลกิจกรรมในคาบเรียนของนักศึกษา
 4.3.3 ประเมินผลจากการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา
 4.3.4 ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา
5.1.1 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอ อย่าง เหมาะสม (5.3)
5.1.2 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม (5.4)
 5.2.1 บรรยาย
 5.2.2 ปฏิบัติ
 5.2.3 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง พร้อมกับชี้แนะแนวทางในการทำงาน
5.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากงานหรือกิจกรรมที่มอบให้นักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4..ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 5 6 1 6 2 4 3 4
1 BSCCT201 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 30% 30%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 , 3.3, 4.1, 4.2 , 5.1, 5.4 แบบฝึกหัด แบบฝึกปฎิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1,1.2 ,1.5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. Ralph Stair, George Reynolds (200x). Fundamental of Information System, Thomson Course Technology
            2.  ไพบูลย์ เกียรติโกมล, ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2551          
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  ข้อเสนอแนะผ่านกระดานสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์