จิตรกรรมสร้างสรรค์

Creative Painting

๑.๑. รู้ลักษณะเฉพาะของจิตรกรรมสร้างสรรค์
๑.๒. เข้าใจหลักการพัฒนารูปแบบการจิตรกรรมสร้างสรรค์
๑.๓. พิจารณาเลือกเทคนิค วิธีการคลี่คลายรูปแบบ วิธีการประยุกต์ใช และพัฒนาแนวคิด
๑.๔. มีทักษะในการปฏิบัติงานจิตรกรรมสร้างสรรค์เน้นความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการที่มี
ลักษณะเฉพาะตน
๑.๕. เห็นความสำคัญและคุณค่าของงานจิตรกรรมสร้างสรรค์
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา จิตรกรรมสร้างสรรค์ สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ งานด้านจิตรกรรมสร้างสรรค์ กับแนวทางการสร้างงานศิลปกรรม
ศึกษาและปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม โดยรูปแบบและเทคนิคที่มีความหลากหลาย โดยมีความสัมพันธ์กับแนวความคิด เน้นการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ และมีความเป็นศิลปะร่วมสมัย
Study and practice of the principles and practice involved in visual art work. Several patterns and techniques are focused on in relation to concepts, including creative expressions and styles of contemporary art.
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
˜ ข้อ ๑ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม š ข้อ ๒ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น   ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
- สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนแต่ละครั้ง - แสดงให้เห็นถึงผลของความรักต่อวิชา วินัย ความซื่อสัตย์ - แสดงให้เห็นถึงผลของความรับผิดชอบต่อวิชาการ
 - ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน  - ประเมินพฤติกรรมจากความรับผิดชอบในหน้าที่ต่างๆ
 
š ข้อ ๑ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ˜ ข้อ ๒ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ š ข้อ ๓ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม   ๔ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
- บรรยายประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ ให้เห็นถึงเทคนิค วิธีการ,ผลงานตัวอย่าง,ผลงานศิลปินที่มีชื่อเสียง - บรรยายผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ยกตัวอย่างผลงานให้ได้เห็น และเข้าใจในแนวความคิดในการสร้างสรรค์ใหม่ๆในงานจิตรกรรมร่วมสมัย - ปฏิบัติงานจริง เพื่อศึกษาค้นคว้าตามขั้นตอนต่างๆวิจารณ์แนะนำเพื่อพัมนาต่อ
- ประเมินจากความสมบูรณ์ของผลงานจิตรกรรมสร้างสรรค์ของแต่ละบุคคล - ประเมินจากความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างแนวความคิด เทคนิคที่ใช้ และรูปแบบนำเสนอในผลงานจิตรกรรมสร้างสรรค์ ที่มีความงาม ความหมายที่มีคุณค่าทางทัศนศิลป์ - ประเมินจากความรู้ความสามารถในการบรรยายอธิบายผลงานของตนสอดคล้องกับผลงานที่ปรากฏตามองค์ความรู้ทางทัศนศิลป์สาขาจิตรกรรม - ประเมินจากการสอบกลางภาค และปลายภาค
  ข้อ ๑ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) š ข้อ ๒ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ š ข้อ ๓ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ ˜ ข้อ ๔ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
- นำเสนอผลงานจิตรกรรมสร้างสรรค์ ที่แสดงให้เห็นถึงเทคนิค วิธีการต่างๆ ของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ - แนะนำหรือสาธิตเทคนิควิธีการต่างๆ  เพื่อให้เกิดทักษะและปัญญา - มอบหมายให้ค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ - วิเคราะห์ วิจารณ์ผลงานปฏิบัติของแต่ละบุคคลให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสียต่างๆ
- ประเมินผลความก้าวหน้าจากการศึกษาค้นคว้า เปรียบเทียบกับผลงานปฏิบัติในแต่ละครั้ง - ประเมินผลความรู้  ความเข้าใจจากการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
š ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี š ข้อ ๒ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ š ข้อ ๓ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
 - แสดงให้เห็นถึงผลของความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานร่วมกัน  - แสดงให้เห็นถึงผลของความรู้ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนในการปฏิบัติงานร่วมกัน
- ประเมินผลจากพฤติกรรมการปฏิบัติงานร่วมกันในชั้นเรียน
- ประเมินผลจากความรู้  ความเข้าใจที่ได้จากการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้เรียน
- ประเมินผลจากการกำหนดให้ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
š ข้อ ๑ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ š ข้อ ๒ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ๒   ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
- นำเสนอตัวอย่างความรู้  ความชำนาญเกี่ยวกับการเขียนภาพจิตรกรรมแนวใหม่ๆรวมทั้งตัวอย่างผลงานของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ - นำเสนอตัวอย่างเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ - มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินผลความรู้ความเข้าใจจากผลงานที่สร้างสรรค์ตามเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ - ประเมินผลจากการมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
  ข้อ ๑ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) š ข้อ ๒ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ˜ ข้อ ๓ มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วย
 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและจากชิ้นงานมีการใช้เทคนิคทางจิตรกรรมสร้างสรรค์ รูปแบบและแนวความคิด มีความสอดคล้องกัน ตรงตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโครงงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ข้อ ๑ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ข้อ ๒ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น ข้อ ๓ มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ และสิ่งแวดล้อม ข้อ ๑ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๒ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ ข้อ ๓ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ข้อ ๔ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบ วิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา ข้อ ๑ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน ข้อ ๒ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ข้อ ๓ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ ข้อ ๔ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ข้อ ๒ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๓ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง ข้อ ๑ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๒ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๓ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม ข้อ ๑ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ ข้อ ๒ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ข้อ ๓ มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BFAVA160 จิตรกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 อธิบายแผนการสอน รายวิชาจิตรกรรมสร้างสรรค์ ระเบียบแผนการเรียนการสอนวิชาจิตรกรรมสร้างสรรค์ นิยามความหมายจิตรกรรมในลักษณะต่างๆ เตรียมอุปกรณ์สร้างสรรค์ เฟรมผ้าใบ หรือกระดาษ ขนาด 60x80 เซนติเมตร เตรียมสมุดสเก๊ตซ์ขนาดไม่ต่ำกว่า A4 -บรรยายทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับผลงานจิตรกรรมและแนวทางในการสร้างสรรค์ 1 5%
2 หัวข้อที่ 1 ศึกษาหุ่นนิ่ง ขนาดผลงานต่อสัปดาห์ ไม่ต่ำกว่า ขนาด 60x80 เซนติเมตร สร้างสรรค์ผลงานตามต้นแบบหุ่นนิ่ง ด้วยเทคนิคจิตรกรรมไม่กำหนดวัสดุอุปกรณ์ -ตรวจสมุดสเก๊ตซ์ -ปฎิบัติสร้างสรรค์ผลงานวิจารณ์ผลงานเพื่อพัฒนาต่อ 2 5%
3 ส่งงานจริงชิ้นที่ 1 หัวข้อศึกษาหุ่นนิ่ง หัวข้อที่ 2 สร้างสรรค์จากหุ่นนิ่ง สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงออกผ่านแนวความคิด และรูปแบบเฉพาะตัว ด้วยเทคนิคจิตรกรรม ไม่กำหนดวัสดุอุปกรณ์ -ปฎิบัติสร้างสรรค์ผลงานวิจารณ์ผลงานเพื่อพัฒนาต่อ 3 5%
4 ส่งงานจริงชิ้นที่ 2 หัวข้อสร้างสรรค์จากหุ่นนิ่ง หัวข้อที่ 3 สร้างสรรค์จากมนุษย์ เข้าห้องสมุดและส่งภาพร่างต้นแบบขนาด A4 ภายในชั่วโมง สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงออกผ่านแนวความคิด และรูปแบบเฉพาะตัว ด้วยเทคจิตรกรรม ไม่กำหนดวัสดุอุปกรณ์ -นำเสนอผลงาน -วิจารณ์ผลงานเพื่อพัฒนาต่อ -ปฎิบัติสร้างสรรค์ภาพร่างต้นแบบ 4 5%
5 ส่งงานจริงชิ้นที่ 3 หัวข้อสร้างสรรค์จากมนุษย์ หัวข้อที่ 4 สร้างสรรค์จากสัตว์ เข้าห้องสมุดและส่งภาพร่างต้นแบบขนาด A4 ภายในชั่วโมง สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงออกผ่านแนวความคิด และรูปแบบเฉพาะตัว ด้วยเทคนิคจิตรกรรม ไม่กำหนดวัสดุอุปกรณ์ -นำเสนอผลงาน -วิจารณ์ผลงานเพื่อพัฒนาต่อ -ปฎิบัติสร้างสรรค์ภาพร่างต้นแบบ -ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานจริง 5-6 5%
6 หัวข้อที่ 5 สร้างสรรค์จากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เข้าห้องสมุดและทำภาพร่างต้นแบบขนาด A4 และส่ง -ปฎิบัติสร้างสรรค์ภาพร่างต้นแบบ 7 5%
7 ส่งงานจริงชิ้นที่ 4 หัวข้อสร้างสรรค์จากสัตว์ ส่งภาพร่างต้นแบบ 5 สร้างสรรค์จากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงออกผ่านแนวความคิด และรูปแบบเฉพาะตัว ด้วยเทคนิคจิตรกรรม ไม่กำหนดวัสดุอุปกรณ์ -นำเสนอผลงาน -วิจารณ์ผลงานเพื่อพัฒนาต่อ -ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานจริง 8 5%
8 สอบกลางภาค จิตรกรรมสร้างสรรค์หัวข้ออิสระ ไม่กำหนดเทคนิคและแนวความคิด ผลงานขนาดไม่ต่ำกว่า 80 x 100 cm ปฏิบัติการ จิตรกรรมสร้างสรรค์หัวข้ออิสระ ไม่กำหนดเทคนิคและแนวความคิด 9 10%
9 ส่งงานจริงชิ้นที่ 5 หัวข้อสร้างสรรค์จากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หัวข้อที่ 6 สร้างสรรค์จากสถาปัตยกรรม เข้าห้องสมุดและส่งภาพร่างต้นแบบขนาด A4 ภายในชั่วโมง สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงออกผ่านแนวความคิด และรูปแบบเฉพาะตัว ด้วยเทคนิคจิตรกรรม ไม่กำหนดวัสดุอุปกรณ์ -นำเสนอผลงาน -วิจารณ์ผลงานเพื่อพัฒนาต่อ -ปฎิบัติสร้างสรรค์ภาพร่างต้นแบบ -ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานจริง 10 5%
10 หัวข้อที่ 7 สร้างสรรค์จากวัฒนธรรม,ศาสนา,ประเพณี เข้าห้องสมุดและทำภาพร่างต้นแบบขนาด A4 และส่งในสัปดาห์ถัดไป -ปฎิบัติสร้างสรรค์ภาพร่างต้นแบบ 11 5%
11 ส่งงานจริงชิ้นที่ 6 หัวข้อสร้างสรรค์จากสถาปัตยกรรม ส่งภาพร่างต้นแบบ 7 สร้างสรรค์จากวัฒนธรรม,ศาสนา,ประเพณี สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงออกผ่านแนวความคิด และรูปแบบเฉพาะตัว ด้วยเทคนิคจิตรกรรม ไม่กำหนดวัสดุอุปกรณ์ -นำเสนอผลงาน -วิจารณ์ผลงานเพื่อพัฒนาต่อ -ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานจริง 12 5%
12 ส่งงานจริงชิ้นที่ 7 สร้างสรรค์จากวัฒนธรรม,ศาสนา,ประเพณี -นำเสนอผลงาน -วิจารณ์ผลงานเพื่อพัฒนาต่อ 13 5%
13 หัวข้อที่ 8 งานสรุป “หัวข้อจิตรกรรม3มิติ,3D” ให้นักศึกษาลงพื้นที่เก็บข้อมูลหาที่มาและแรงบันดาลใจจากสถานที่จริง (ผนังสาธารณะหรือเอกชน) แล้วนำข้อมูลจากบริบทพื้นที่มาสร้างผลงานจิตรกรรมสร้างสรรค์รูปแบบ 3 มิติกำหนดให้นักศึกษาทำงานแบบเป็นกลุ่มจำนวน 3-5 คน ร่วมกันวิเคราะห์และประมวลผลจากข้อมูลที่ได้ศึกษาจากพื้นที่ นำมาทำภาพร่างต้นแบบ ขนาด A4 เตรียมข้อมูลมานำเสนอพาวเวอร์พอยน์ กลุ่มละ5-10สไลด์ ในสัปดาห์ถัดไป -เก็บข้อมูลจากสถานที่จริงและร่วมกันวิเคราะห์เพื่อกำหนดรูปแบบผลงานและแนวความคิดที่จะแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ -ปฎิบัติสร้างสรรค์ภาพร่างต้นแบบ -เตรียมนำเสนอพาวเวอร์พอยน์ 14 10%
14 นำเสนอพาวเวอร์พอยน์ ที่มาและแรงบันดาลใจจากสถานที่จริง ส่งภาพร่างต้นแบบ 8 งานสรุป หัวข้ออิสระ “หัวข้อจิตรกรรม3มิติ,3D” สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงออกผ่านแนวความคิด และรูปแบบเฉพาะตัว ด้วยเทคนิคจิตรกรรมสร้างสรรค์ ไม่กำหนดวัสดุอุปกรณ์ -นำเสนอพาวเวอร์พอยน์ผลงาน -วิจารณ์ผลงานเพื่อพัฒนาต่อ -ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานจริง 15 5%
15 สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงออกผ่านแนวความคิด และรูปแบบเฉพาะตัว ด้วยเทคนิคจิตรกรรม 3 มิติ ไม่กำหนดวัสดุอุปกรณ์ -ปฎิบัติสร้างสรรค์ผลงาน 16-18 20%
- แนวทางการสอนและสร้างสรรค์จิตรกรรมขั้นสูง รองศาสตราจารย์อิทธิพล  ตั้งโฉลก
- จิตรกรรมสร้างสรรค์ CREATIVE PAINTING ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชิต  ชมทวีวิรุตม์
- ศาสตราจารย์ กำจร สุนพงษ์ศรี. หนังสือศิลปะสมัยใหม่ .สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2554 - ชลูด นิ่มเสมอ.องค์ประกอบของศิลปะ.กรุงเทพ:สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด,2534
- www.fineart-magazine.com - www.American painting - www. Art Now
- สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อจบเนื้อหานั้น - นักศึกษาประเมินการสอนในคอมพิวเตอร์ - ประเมินการสอนโดยผู้บริหารของภาคหรือสาขาวิชา
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน - ผลการเรียนของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน - การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา - ทวนสอบจากคะแนนการปฏิบัติ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร - ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติที่หลากหลาย