สรีรวิทยาของพืช

Plant Physiology

1 เข้าใจเกี่ยวกับความหมายความสำคัญและขอบเขตของสรีรวิทยาของพืช 2 เข้าใจเกี่ยวกับเซลล์และองค์ประกอบของเซลล์พืชที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึม 3 เข้าใจเกี่ยวกับสารประกอบที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึม 4 เข้าใจกระบวนการเมแทบอลิซึมของพืช เช่น การหายใจ การสังเคราะห์แสง 5 เข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารต่าง ๆ ในพืช ตลอดจนกระบวนการตรึงไนโตรเจนของพืช 6 เข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับน้ำ  ในเรื่องการดูดน้ำการลำเลียงน้ำและการคายน้ำ 7 เข้าใจเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 8 เข้าใจเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของเซลล์พืช  หน้าที่ทางสรีรวิทยาและเมทาบอลิซึมขององค์ประกอบทางเคมีของเซลล์พืช เช่น คาร์โบไฮเดรต กรดอมิโนและโปรตี เอนไซม์ กรดไขมันและลิปิด กรดนิวคลีอิค วิตามิน และเกลือแร่   ตลอดจนกระบวนการเมทาบอลิซึมต่าง ๆที่เกิดขึ้นในพืช เช่น การหายใจ การสังเคราะห์แสงการตรึงไนโตรเจน ธาตุอาหารพืช และการดูดซึม การเคลื่อนย้ายลำเลียงธาตุอาหารในพืช   ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำกับพืช   สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. จะมีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม    จริยธรรม 2. กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ 3. ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย 4. มีความซื่อสัตย์ในการสอบ
1. เข้าเรียนตรงเวลา 2. ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด 3. ไม่มีการทุจริตในการสอบ
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. การบรรยาย ยกตัวอย่าง การคิด วิเคราะห์ ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน 2. ทดลองในห้องปฏิบัติการและในพืชทดสอบ 3. นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.วิเคราะห์กรณีศึกษา และการนำเสนอผลงาน
สอบกลางภาคและปลายภาค
1.  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานเป็นกลุ่ม    ฝึกทักษะการเป็นผู้นำกลุ่ม และสมาชิกที่ดี ในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ให้มีการรายงานหน้าชั้นเรียนและเปิดโอกาสให้มีการถาม-ตอบ
1. ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม 2. สังเกตุจากพฤติกรรมของนักศึกษา
1.   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร 
2.   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1.   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2.   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีคุณธรรมและจริยธรรม มีหลักคิดและแนวทางปฎิบัติทางส่งเสริมความดัและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม 2 มีจรรยาบรรณ มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพที่เรียนได้อย่างถ่องแท้และมีระบบ ทั้งหลักการ ทฤาฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกียวข้อง 2 มีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 1 สามารถคิดวิเคราะห์งานงานเป็นระบบ อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆอย่างสม่าเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 1 ภาวะผู้นำ กล้สแสดงออก อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความเห็นของผุ้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดปละประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผล และความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองด์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์มี่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเอง 2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ มีความห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 1 มีทักษะการสื่อสารในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พุด อ่าน และเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการพูด ฟัง อ่าน และเขียน 2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 ทักษะทางวิชาชีพ หมายถึงมีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ(พืชศาสตร์/สัตว์ศาสตร์/ประมง) สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมาพัฒนา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
1 BSCAG105 สรีรวิทยาของพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 .2, 1.3, 3.1, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 40%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 3.5 การสอบกลางภาค 8 25%
3 1.3, 2.1,2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 การสอบปลายภาค 17 25%
4 1.3, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.3, 6.1 บทปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 10%
สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์.  2548.  สรีรวิทยาของพืช.  ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  252 น
ดนัย บุณยเกียรติ.  2539.  สรีรวิทยาของพืช.  ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.   216 น. นพดล จรัสสัมฤทธิ์. 2542. สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. สาขาไม้ผล คณะผลิตกรรมการ เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.  110 น. นิตย์   ศกุนรักษ์.  2541.  สรีรวิทยาของพืช.  ภาควิชาพืชไร่  คณะผลิตกรรมการเกษตร  มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 237 น. พรพิมล  สุริยภัทร.  ม.ป.ป.  เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสรีรวิทยาของพืช.  ออนไลน์ : www.agri.ubu.ac.th/ponpimon/1202320/
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและ     นอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้     ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยภาควิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดย     อาจารย์ในภาควิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผล การประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควร กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนิสิตและร่วมกันหา แนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดย      การสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนิสิต ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุป วางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป