เครื่องทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร

Farm Machinery

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ชนิด หลักการทำงาน การเลือก การใช้ การบำรุงรักษาเครื่องทุ่นแรงฟาร์มอย่างถูกต้องและปลอดภัย การส่งน้ำและระบบการให้น้ำ ระบบปั๊มสูญญากาศและเครื่องรีดนม เครื่องมือในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เครื่องทำความเย็นและห้องเย็น ระบบควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือนปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพลังงานทดแทน
ศึกษาวิเคราะห์และปรับปรุงรูปแบบการใช้งาน การบำรุงรักษารถแทรกเตอร์เพื่อการเกษตรและ เครื่องทุ่นแรงฟาร์ม
ระบบการให้น้ำแก่พืชที่ปลูก โดยมีการนำความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน การวิเคราะห์และออกแบบ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ชนิด หลักการทำงาน การเลือก การใช้ การบำรุงรักษาเครื่องทุ่นแรงฟาร์มอย่างถูกต้องและปลอดภัย การส่งน้ำและระบบการให้น้ำ ระบบปั๊มสูญญากาศและเครื่องรีดนม เครื่องมือในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เครื่องทำความเย็นและห้องเย็น ระบบควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือนปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพลังงานทดแทน
1 ชั่วโมง
มีวนิยั ขยนั อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกหรือยกตวัอยา่ งประกอบในขณะที่สอนเน้ือหาโดยสอดแทรกเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดลอ้ ม
-กา หนดหลกัเกณฑ์ต่างๆ เช่น ใหเ้ขา้ห้องเรียนตรงเวลาและเขา้เรียนอยา่ งสม่า เสมอ
- ให้งานมอบหมายและกา หนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กา หนด
-ร้อยละ 90 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา
-ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบตัิตามกฎเกณฑท์ ี่อาจารยผ์ สู้อนกา หนด
-ไม่มีการทุจริตในการสอบ
- มีวนิยัต่อการเรียน ส่งงานที่ไดร้ับมอบหมายตามเวลาที่กา หนด
- มีความรู้ความเข้าใจ ท้งัทางดา้นดา้นทฤษฎีและหลกัการปฏิบตัิในเน้ือหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความกา้วหนา้ทางวชิาการและเทคโนโลยขีองวชิาที่ศึกษา
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นส าคัญ ไดแ้ก่การสอนบรรยายร่วมกบัการสื่อสารสองทาง โดย เนน้ ใหน้กัศึกษาหาทางคน้ควา้หาขอ้มูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกนั เรียนรู้(CoOperative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เป็ นต้น
- มอบหมายนกัศึกษาไปคน้ควา้เพิ่มเติมและจดัทา เป็นรายงานส่ง
- ทดสอบโดยข้อเขียนในการการสอบยอ่ ย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
- การประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในช้นั เรียน
มีทกัษะทางการปฏิบตัิจากการประยกุ ตค์วามรู้ท้งัทางดา้นวชิาการและวชิาชีพ
ฝึกตอบปัญหาในช้นั เรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและระดมสมองในการ แกไ้ข ปัญหาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กา หนดไวแ้ลว้ โดยแบ่งนกัศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะตอ้ง กา หนดแนวทางไปสู่การแกป้ ัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบตัิที่มีความน่าเชื่อถือและ ความเป็ นไปได้
-แนะน าให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงาน
-ฝึ กให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสาร ต่าง ๆ รวม การค้นคว้าจากฐานข้อมูล
- เชิญผเู้ชี่ยวชาญจากสถานประกอบการหรือหน่วยงานของรัฐภายนอกมหาวทิยาลยั มา ให้ข้อเสนอแนะและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกน
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสงัเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในช้นั เรียน
- ดูจากรายงาน การนา เสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอขอ้คิดเห็นในช้นั เรียน
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- สามารถทา งานเป็นทีมและสามารถแกไ้ขขอ้ขดัแยง้ไดอ้ยา่ งเหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทา งานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้ นักศึกษา ทา งานไดก้ บัผอู้ื่น โดยไม่ยึดติดกบั เฉพาะเพื่อนที่ใกลช้ิด
- ใหน้กัศึกษาแบ่งงานและกา หนดความรับผดิชอบของแต่ละคนในการทา งานกลุ่ม อยา่ ง ชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในช้นั เรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนกัศึกษา
- ประเมินจากกระบวนการท างาน และผลงานที่ทา เป็นกลุ่มหรือโครงงาน
- ใหน้กัศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ท้งัดา้นทกัษะความสมั พนัธ์ระหวา่ งบุคคลและด้าน ความรับผิดชอบ
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
-สามารถสืบคน้ ศึกษาวเิคราะห์และประยกุ ตใ์ชเ้ทคโนโลยเีพื่อแกไ้ขปัญหาอยา่ ง เหมาะสม
- มีการนา เสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อช้นั เรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้ นักศึกษาใช้ภาษาที่ ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
-กา หนดใหม้ีการนา เสนอประกอบสไลด์หน้าชั้นเรียน
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ
- ประเมินจากการใชส้ื่อและภาษาที่ใชใ้นการเขียนรายงานและการนา เสนอในช้นั เรียน
- ประเมินจากการน าเสนอขอ้ มูลอยา่ งเป็นระบบ โดยอาจน าเสนอในรูปของตัวเลข กราฟหรือตาราง
- มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกัน เป็นอย่างดี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย คุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1 1 2
1 BSCAG007 เครื่องทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 type of farm machinery evaluate the farm tractor types question 1 10%
2 working principle of farm machinery Drive a John Deere 1100 forward and backward straight line and zigzag 2 10%
3 selection of farm machinery Drive John Deere 2650 3 10%
4 proper use of farm machinery Break Turning John Deere 2650 4 10%
5 farm machinery maintenance practice lubricating the tractor 5 10%
6 farm machinery safety Drive tractor safety 6 10%
7 pre-harvest farm machinery Trailer attachment 7 10%
8 mid-term examination Answer the multiple choice and essay questions 8 20%
9 post harvesting farm machinery - 9 5
จิราภรณ์ เบญจประกายรัตน์. เครื่องจักรกลการเกษตร1.พิมพค์ร้ังที่1. กรุงเทพฯ:แผนกต าราคณะ วิศวกรรมศาสตร์.สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2542.  บพิตร ต้งัวงคก์ิจและรัตนา ต้งัวงคก์ิจ.อุปกรณ์และเครื่องจักกลการเกษตร.พิมพค์ร้ังที่1. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2550.  เสมอขวญั ตนั ติกุล.เครื่องทุ่นแรงในฟาร์ม1. ภาคเครื่องทุ่นแรงส าหรับเตรียมดินและปลูกพชื.พิมพค์ร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ:บริษัทส.เอเชียเพรส(1898)จา กดั, 2550.  อภิชาต อนุกลูอา ไพและคณะ.คู่มือการชลประทานระดบัไร่นา . กรุงเทพฯ:สถาบนั เทคโนโลยแีห่เอเชีย. 2537.
กรมวิชาการเกษตร.เทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตร.กรุงเทพฯ:โรงพิมพช์ ุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทยจา กดั. มปป. คณาจารย์.เกษตรชลประทาน. ปทุมธานี.ศูนย์ฝึ กวิศวกรรมเกษตร บางพูน, 2518.  ธีรยุทธ ชัยวงศ์. ปฏิบัติเครื่องยนต์เล็ก. เครื่องยนต์เล็ก. กรุงเทพฯ:นนทบุรี:เจริญรุ่งเรืองการพิมพ,2544. ์  ประณต กุลประสูตร. แทรกเตอร์เพื่อการเกษตร1 การใช้ การบริการบ ารุงรักษาและการปรับ. พิมพค์ร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ:บริษทัแอคทีฟ พริ้นท์จา กดั,2548.  วราวุธ วุฒิพาณิชย์.การออกแบบระบบชลประทานในไร่นา. พิมพค์ร้ังที่1 . กรุงเทพฯ:ส านักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2545.  วิบูลย์ บุญยธโลกุล. หลักการชลประทาน. พิมพค์ร้ังที่1 . กรุงเทพฯ:ห.จ.ก. โรงพิมพ์เอเซีย,2526
นัย บำรุงเวช. เครื่องดำนา.ม.ป.ท.,2546.  บุญเจิด กาญจนา. การให้น้ำแบบฉีดฝอย. พิษณุโลก:สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพิษณุโลก, 2545.  มนตรีค้ำชู.หลักการชลประทานแบบน้ำหยด การออกแบบและการแก้ปัญหา.กรุงเทพฯ:ภาควิชาวิศวกรรม ชลประทาน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,มปป