วิศวกรรมการบริหารงานก่อสร้าง

Construction Engineering and Management

ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับวัสดุ เครื่องมือการก่อสร้าง  วิเคราะห์ผลผลิตงานก่อสร้าง  การถอดปริมาณวัสดุ  การวิเคราะห์ราคาค่าแรงและค่าเครื่องจักร กลยุทธ์ในการประมูล  หลักการควบคุมราคาการก่อสร้าง   การวิเคราะห์แนวโน้มและการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้   ความเข้าใจ เพื่อเป็นพื้นฐานเตรียมการทำงาน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับวัสดุ เครื่องมือการก่อสร้าง  วิเคราะห์ผลผลิตงานก่อสร้าง  การถอดปริมาณวัสดุ  การวิเคราะห์ราคาค่าแรงและค่าเครื่องจักร กลยุทธ์ในการประมูล  หลักการควบคุมราคาการก่อสร้าง   การวิเคราะห์แนวโน้มและการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย
6 ชั่วโมง
ความมีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1    ให้ความสำคัญในเรื่องการมีวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนดอาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อการมีวินัย ตรงต่อเวลา และอธิบายระเบียบการเข้าชั้นเรียน  1.2.2    ปลูกฝังเรื่องความชื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1    ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาภายในห้องเรียน และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ   1.3.2    การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา  1.3.3    สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่าต่อเนื่อง  1.3.4    ประเมินจากเนื้อหาของแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน(มีการลอกกันไหม)
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับวัสดุ เครื่องมือการก่อสร้าง  วิเคราะห์ผลผลิตงานก่อสร้าง  การถอดปริมาณวัสดุ  การวิเคราะห์ราคาค่าแรงและค่าเครื่องจักร กลยุทธ์ในการประมูล  หลักการควบคุมราคาการก่อสร้าง   การวิเคราะห์แนวโน้มและการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย
บรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนามาสรุปและนาเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem base learning และ Student Center เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1    สอบย่อย สอบข้อเขียน ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค  2    ประเมินผลงานที่มอบหมายจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
3.1.1 สามารถนาความรู้หลักการ/ทฤษฎีมาประยุกต์ในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา กรณีศึกษาแนวทางในการวิจัยและการปฏิบัติงานของตน และพัฒนาการปฏิบัติงานในอนาคตได้ 3.1.2 นาข้อมูลที่ประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ตั้งสมมติฐานเหตุที่ทาให้เกิดปัญหา เพื่อหาประเด็นที่จะสร้างแนวทางแก้ไขปัญหาหรือป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้
3.2.1 บรรยายหลักวิชา ทฤษฎี ยกตัวอย่าง แก้โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา มอบหมายแบบฝึกหัดเพื่อจัดทาหลังเวลาเรียนให้สามารถนาหลักวิชาประยุทธ์ใช้กับโจทย์ปัญหา และมอบหมายงาน เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานโครงการก่อสร้าง เพื่อสามารถวิเคราะห์ปัญหา เสนอแนวแนวทางแก้ปัญหา การวางแผน ควบคุม และประเมินการปฏิบัติงานขององค์กร 3.2.2 เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น ซักถาม แบ่งปันความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการปฏิบัติงานในองค์กรต่างๆ และจากบทความที่เคยศึกษา
3.3.1 ประเมินคะแนนสอบย่อย และสอบปลายภาค 3.3.2 ประเมินรายงาน การเสนอผลงาน และการตอบข้อซักถามจากการซักถามของเพื่อนร่วมชั้นเรียนและอาจารย์ระหว่างการเสนอผลงาน และประเมินโดยกลุ่มนักศึกษา
4.1.1 ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกัน 4.1.2 ทักษะความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม 4.1.3 ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกาหนดเวลา 4.1.4 ทักษะการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีของนักศึกษาและการปฏิบัติตัวที่ดีต่ออาจารย์
4.2.1 จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก 4.2.2 มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทางานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทางานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด 4.2.3 กาหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทางานกลุ่ม อย่างชัดเจน
4.3.1 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 4.3.2 ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
5.1.1 ทักษะการคิดคานวณ เชิงตัวเลข 5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทารายงาน และนาเสนอในชั้นเรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ เป็นต้น 5.1.6 ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 ใช้PowerPoint ที่น่าสนใจ ชัดเจน ง่ายต่อการติดตามทาความเข้าใจ ประกอบการสอนในชั้นเรียน 5.2.2 การสอนโดยมีการนาเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอและสืบค้นข้อมูล 5.2.3 การแนะนาเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล 5.2.4 การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.2.5 การมอบหมายงานที่ต้องมีการนาเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยี
5.3.1 ประเมินทักษะการคานวณจากเอกสาร และการสอบต่างๆ 5.3.2 ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน 5.3.3 ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณ และเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อช่วยในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาทางด้านบริหารงานก่อสร้าง
ตั้งโจทย์ปัญหาที่ต้องใช้ระเบียบวิธีการคำนวณเชิงตัวเลขในการแก้ปัญหา
ประเมินจากการหาคาตอบโดยวิธีการคำนวณ และวิธีการใช้เครื่องคำนวณหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้าน 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 4.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ 4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม 5.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิตประยุกต์ ต่อ การแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 5.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 33055303 วิศวกรรมการบริหารงานก่อสร้าง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1) รศ.วิสูตร จิระดาเกิง , การบริหารงานก่อสร้าง , ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , มหาวิทยาลัยรังสิต , พิมพ์ครั้งที่ 5, 2549. 2) รศ.วิสูตร จิระดาเกิง , การปรับปรุงผลผลิตงานก่อสร้าง, ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยรังสิต, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2546. 3) รศ.วิสูตร จิระดาเกิง, การวางแผนงานและแผนกาหนดเวลางานก่อสร้าง,ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยรังสิต, พิมพ์ครั้งที่ 4 , 2549. 4) รศ.ดร.สันติ ชินานุวัติวงศ์ , วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ ,ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2551.
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย สาขาภาคเหนือ 1 เชียงใหม่ 2552 “การบริหารโครงการก่อสร้างและอบรมจัดซื้อจัดจ้าง” เอกสารอบรม 20 – 21 ตุลาคม 2552
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คาอธิบายศัพท์