การจัดการการค้าปลีก

Retailing Management

1.1 รู้และเข้าใจแนวคิดและหลักการทั่วไปเกี่ยวกับการค้าปลีก
1.2 เข้าใจลักษณะผู้บริโภคและการจัดตั้งกิจการร้านค้าปลีกประเภทต่าง ๆ
1.3 เข้าใจโครงการและการดำเนินงานการค้าปลีก
1.4 เข้าใจหลักการบริหารการค้าปลีกและสามารถพัฒนาภาพพจน์ได้
1.5 สามารถพิจารณาเลือกผลงานวิจัยทางการตลาดได้ตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในร้านค้าปลีก
2.1 อธิบายแนวความคิดทั่วไปและการจัดตั้งบริหารงานการค้าปลีกได้
2.2 พิจารณาเลือกงานวิจัยเพื่อศึกษาและเขียนแผนกลยุทธ์ทางการตลาดงานค้าปลีกได้
ศึกษาความหมาย วัตถุประสงค์ ความสำคัญของการจัดการการค้าปลีก ปัจจัยประเภทต่าง ๆ และหลักเกณฑ์ในการค้าปลีก การบริหารการค้าปลีก ทำเลที่ตั้ง การจัดรูปองค์กร การดำเนินงาน การส่งเสริมการขาย การกำหนดราคาและเทคนิคการขาย พร้อมทั้งเทคโนโลยี ที่มีความทันสมัยและเหมาะสมกับการค้าปลีก
กำหนดให้ผู้สอนผู้เรียนขอคำปรึกษาขอคำแนะนำและเสนอนัดเวลาขอคำปรึกษาได้ครั้งละ 1 ชั่วโมง (รายบุคคลหรือกลุ่มก็ได้) ผู้เรียนสามารถติดต่อสอบถามทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ทุกเวลา
 
1.1.1 มีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
1.1.3 รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่มและนอกกลุ่ม
1.1.4 เคารพกฎระเบียบของสังคม
1.1.5 ตระหนักในจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2.1 การบรรยาย
1.2.2 การบรรยายเชิงอภิปราย
1.2.3 การระดมสมองและการอภิปรายกรณีศึกษา
1.2.4 การสรุปประเด็นสำคัญหรือการนำเสนอ
1.2.5 การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Study)
1.2.6 การเรียนรู้จากการทำงาน (Work-Based Learning)
1.2.7 การเรียนรู้แบบโครงการ (Project Approach)
1.3.1 การเข้าชั้นเรียนและความประพฤติ 10 คะแนน
1.3.2 ผลงานภาคปฏิบัติ 20 คะแนน
1.3.2.1 งานที่มอบหมาย
1.3.2.2 โครงการการค้าปลีก
1.3.3 การนำเสนอ 10 คะแนน
1.3.3.1 การอภิปรายกลุ่มตามหัวข้อที่กำหนดตามบทเรียน
1.3.3.2 โครงการการค้าปลีก
1.3.4 สอบกลางภาคเรียน 20 คะแนน
1.3.5 สอบปลายภาคเรียน 20 คะแนน
1.3.6 สอบการอ่านหนังสือนอกเวลาด้านการค้าปลีก 20 คะแนน
รวม 100 คะแนน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการค้าปลีก หลักการตลาด 4P การวิจัยทางการตลาด การส่งเสริมด้านการตลาดในกิจการค้าปลีก การคิดราคา ระบบการบริหารสินค้าในร้านค้าปลีกยุคใหม่ การเขียนแผนกลยุทธ์ทางการตลาด
2.2.1 การบรรยายพร้อมหนังสือประกอบการเรียน
2.2.2 การทำงานเป็นกลุ่มโดยจัดรูปแบบโครงการตามหัวข้อที่นักศึกษาเสนอ
2.2.3 ศึกษานอกห้องเรียนโดยลงพื้นที่ดูกิจการค้าปลีก
2.2.4 ระดมความรู้โดยให้เน้นนักศึกษาเป็นสำคัญทำกลยุทธ์ทางการตลาด
2.3.1 การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
2.3.2 ทำรายงานรายบุคคล/กลุ่ม หัวข้อการจัดการการค้าปลีก
2.3.3 วิเคราะห์กลยุทธ์ทางการตลาดของธุรกิจค้าปลีก
3.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาต่าง ๆ ในชั้นเรียนได้
3.1.2 สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีเพื่อวิเคราะห์แผนกลยุทธ์การตลาดได้
3.2.1 ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา
3.2.2 ระดมสมองตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้ โดยแบ่งศึกษาเป็นกลุ่ม/และจะต้องนำเสนอข้อมูล
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นทางวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา
3.3.2 ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงคามคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
3.3.3 ใบงานที่กลุ่มนำเสนอ/และการนำเสนอผลงาน
3.3.4 พฤติกรรมการแก้ปัญหา
 
4.1.1 มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและงานกลุ่ม
4.1.2 สามารถปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.1.3 วางตัวร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่มได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 จัดกลุ่มระดมปัญญาค้นคว้าข้อมูลรายงานตามหัวข้อที่ศึกษา
4.2.2 ลงพื้นที่ดูร้านค้าปลีก
4.2.3 สร้างแผนกลยุทธ์ทางการตลาด
4.3.1 ประเมินการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและรับผิดชอบในชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษาจากงานที่มอบหมาย
 
5.1.1 สามารถคัดเลือกแหล่งข้อมูล
5.1.2 สามารถค้นคว้าหาข้อมูล/ติดตามการเปลี่ยนแปลงทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3 สามารถใช้ Power point ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.4 สามารถใช้ภาษาไทยในการนำเสนอด้วยการเขียนและการพูดได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 ใช้ Power point ที่น่าสนใจ ชัดเจน ง่ายต่อการติดตามทำความเข้าใจ ประกอบการสอนในชั้นเรียน
5.2.2 การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล
5.2.3 การนำเสนอเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.4 การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.5 การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสาร
5.3.1 ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารโครงการและใบงาน
5.3.2 ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.3 ประเมินรายงานสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BBABA628 การจัดการการค้าปลีก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.3,2.1-2.3 2.3,3.3 2.3,3.3 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 1,8,10,12 9 16 20% 20% 20%
2 1.1,1.3 2.1-2.3 2.3 4.2,4.3 ค้นคว้าการนำเสนอ รายงานโครงการ ทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1 3.1 เข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปรายเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - 10%
การจัดการการค้าปลีก (Retailing Management)
ธุรกิจการค้าปลีก (Retailing Business)
ดำรงศักดิ์ ชัยสนิท. การบริหารการค้าปลีก. กรุงเทพฯ : วังอักษร. 2536.
วารุณี ตันติวงศ์วาณิช. ธุรกิจการค้าปลีก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2552.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. การบริหารการค้าปลีก. กรุงเทพฯ : ธรรมสารจำกัด. 2546.
สุดาดวง เรืองรุจิระ. หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : ประการพรึก. 2540.
สุมนา อยู่โพธิ์. การจัดการตลาด. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด. 2546.
www.thailis .or.th
www.google.co.th
 
-
1.1 สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนในหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ
1.2 ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรม ในและนอกห้องเรียน
1.3 สื่อสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ
1.4 เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
2.1 การสังเกตการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การสัมภาษณ์นักศึกษาที่เรียน
 
3.1 มีการประชุมอาจารย์ในสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียนและมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหาสาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา
 
4.1 สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนนโดยการสุ่มเป็นรายวิชา
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา การรายงานวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน และกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา ในรายงานรายวิชา เสนอต่อหัวหน้า สาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีศึกษาถัดไป