โรคและปรสิตสัตว์น้ำ

Diseases and Parasites in Aquatic Animals

        1.1  รู้ความหมายของคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับโรคและปรสิตในสัตว์น้ำ
     1.2  รู้ชนิดและลักษณะของปรสิตในสัตว์น้ำ และการป้องกันกำจัด
     1.3  รู้ชนิดและลักษณะของโรคในสัตว์น้ำ และการป้องกันกำจัด
     1.4  รู้และเข้าใจวิธีการป้องกันโรคและปรสิตในสัตว์น้ำ
     1.5  เข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมกับโรคและปรสิตสัตว์น้ำได้
  2.1 เพื่อทราบคำศัพท์เกี่ยวกับโรคและปรสิตสัตว์น้ำ
   2.2 เพื่อศึกษาชนิดและลักษณะของปรสิตสัตว์น้ำ ตลอดจนโรคต่าง ๆ ที่พบในสัตว์น้ำ
   2.3 เพื่อให้ทราบวิธีการป้องกันและรักษาโรคและปรสิตสัตว์น้ำ
   2.4 เพื่อให้ทราบความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมกับโรคและปรสิตสัตว์น้ำ
      ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความหมาย คำศัพท์ สาเหตุของการเกิดโรคและปรสิตสัตว์น้ำ  โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย  รา  ไวรัส  ปรสิตต่าง ๆ และการรักษา  การป้องกันโรคและปรสิตในสัตว์น้ำ
วันพุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาประมง
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- การบรรยายโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมระหว่างการสอน
- มอบหมายงานกลุ่ม
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- ประเมินความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
- ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
- เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- การบรรยาย
- การสาธิต ในชั่วโมงปฏิบัติการ
- การใช้กรณีตัวอย่าง เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจได้ชัดเจน
- บูรณาการงานวิจัยกับการเรียนการสอน
- ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การบรรยาย
- การสาธิต
- การเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยให้แบ่งกลุ่มย่อย และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ของปฏิบัติการต่างๆอย่างเป็นระบบ
ประเมินผลจากรายงานผลการทดลอง และการตอบปัญหาในชั้นเรียน
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยจัดกิจกรรมกลุ่มในการทำบทปฏิบัติการ
- มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
- การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
-ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- อธิบายวิธีการปฏิบัติการทดลอง และ/หรือ การคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎี
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
- ประเมินจากการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข/จัดเก็บข้อมูลการทดลองอย่างเป็นระบบ
- ประเมินจากการเขียนรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 1 2
1 BSCAG307 โรคและปรสิตสัตว์น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 ทดสอบ ตลอดภาคการศึกษา 40%
2 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.2, 5.1, 5.2, 5.3 ปฏิบัติการทดลอง, การบันทึกผลการทดลอง, สมุด และรายงานการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 4.2, 4.3 จิตสิพัย และ พฤติกรรมในการเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ปภาศิริ  ศรีโสภาภรณ์.  2537.  โรคและพยาธิของสัตว์น้ำ.  ภาควิชาวาริชศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.  กรุงเทพฯ.  184 น.
วัชริยา  ภูรีวิโรจน์กุล. 2556. ปรสิตวิทยาของสัตว์น้ำ. ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 655 หน้า.
เจนนุช ว่องธวัชชัย.  2560.  โรคติดเชื้อและการจัดการสุขภาพปลานิลเพาะเลี้ยง.  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 192 หน้า.
นันทริกา ชันซื่อ. 2553.  โรคปลา: อายุรศาสตร์และคลินิกปฏิบัติ.  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Edward J. Noga. 2010. Fish Disease: Disease and Disorder. 378 p.
 ประไพสิริ  สิริกาญจน.  2538.  ความรู้เรื่องปรสิตสัตว์น้ำ.  ภาควิชาชีววิทยาประมง  คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพฯ.  199 น.
ชนกันต์  จิตมนัส.  2562.  โรคสัตว์น้ำ.  มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
        1.1  การประเมินการสอนตามแบบประเมินปลายภาคการศึกษา
     1.2  การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
     1.3 การตั้งคำถามให้นักศึกษาตอบหลังจากจบบทเรียน
        1.4  ให้นักศึกษาสะท้อนความคิดเห็นหลังจากจบบทเรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
     2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน  การตอบสนอง  การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
     2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
     2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข ตลอดจนมีการบูรณาการกับงานวิจัยและงานบริการวิชาการ
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการในหลักสูตรตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
      จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ปรับปรุงสื่อการสอนให้ทันกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย