ไม้ผลเศรษฐกิจ

Economic Fruit Crops

1. รู้ประโยชน์และความสำคัญของไม้ผลเศรษฐกิจในท้องถิ่น 2. เข้าใจการจัดการสวน การเก็บเกี่ยวและปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว 3. เข้าใจปัญหาและสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการผลิตไม้ผล 4. มีทักษะในการคัดเลือกพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ไม้ผลเศรษฐกิจ 5. มีเจตคติที่ดีต่อไม้ผลที่สำคัญทางเศรษฐกิจในท้องถิ่น 6. นำความรู้ ความสามารถ ไปใช้ในการจัดการผลิตในแปลงปลูกจริง
เพิ่มเติมเนื้อหาการวิเคราะห์กระบวนการผลิตไม้ผลเศรษฐกิจให้ได้มาตรฐานเกษตรที่ปลอดภัย (GAP) เทคนิคในการเพิ่มศักยภาพการผลิต การปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมตามมาตรฐานสากล เพื่อการส่งออก การจำหน่ายในรูปแบบต่างๆ เพิ่มเติมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Web board ที่ทันสมัย การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของรายวิชาในบางบทเรียน ซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยใหม่ๆ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของไม้ผลเศรษฐกิจที่สำคัญ ของท้องถิ่นเข้าใจวิธีการวางผังการปลูก การปฏิบัติ การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การบรรจุหีบห่อ มาตรฐานผลไม้ การจัดจำหน่ายทั้งไม้ผลและผลิตภัณฑ์ตลอดจนการคัดเลือก ปรับปรุงพันธุ์ไม้ผลเศรษฐกิจให้เหมาะสมเป็นสินค้าออก
0
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) ให้นักศึกษาตระหนักและมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมายทั้งของตนเองและผลงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย มีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่มและนอกกลุ่ม 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(Problem-solving)
การสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
(Questioning) (Technology - Related Instruction) การสอนแบบ Problem Based Learning
ใช้การสอนแบบ บรรยายผ่าน electronic media learning (Power point และ E-Mail และ E-learning ผ่านสื่อทาง Internet) เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีกิจกรรมนักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง   เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียน มีกิจกรรมปฏิบัติในแปลงเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการมีวินัยปฏิบัติงานด้วยตนเองตามจรรยาบรรณวิชาชีพ การไปศึกษานอกสถานที่กับสวนยางพาราที่ประสพผลสำเร็จในอาชีพ
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง การสังเกต การสัมภาษณ์ การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในสถานการณ์ที่จัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาและการเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโสและอาจารย์ โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) รู้และเข้าใจกระบวนการผลิตไม้ผลที่สำคัญทางเศรษฐกิจ ศักยภาพผลผลิตในแปลงปลูก การเปลี่ยนแปลงการพัฒนาการเจริญเติบโต อิทธิพลสภาพแวดล้อมต่อการผลิตไม้ผลแต่ละชนิด การประยุกต์ความรู้เพื่อจัดการเพิ่มผลผลิตให้สูงสุดตามศักยภาพผลผลิตของไม้ผล ตลอดจนประยุกต์ความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติ ลอดจนประยุกต์ความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) การสอนฝึกปฏิบัติการ การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบฝึกภาคสนาม การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ การสอนแบบปฏิบัติ การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนบรรยายแบบ Active Learning เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมและหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหรือกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น รวมทั้งการสอนแบบ e-Learning และการสอนนอกห้องเรียน ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อหรือบทเรียน
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง การสังเกต การสัมภาษณ์ การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ     ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียนและการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และสอบเป็นทางการ 2 ครั้ง (สอบกลางภาคและสอบปลายภาค) ทำรายงานรายบุคคลและหรือรายงานกลุ่มเพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การทำรายงานกรณีศึกษาและนำเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาที่ทราบในชั้นเรียนหรืองานที่มอบหมายให้ค้นหาคำตอบเพื่อได้ให้แนวทางในการแก้ปัญหานั้นๆ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) การสอนฝึกปฏิบัติการ การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบฝึกภาคสนาม การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ การสอนแบบปฏิบัติ การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนบรรยายแบบ Active Learning เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมและหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหรือกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น รวมทั้งการสอนแบบ e-Learning และการสอนนอกห้องเรียน ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อหรือบทเรียน
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง การสังเกต การสัมภาษณ์ การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ     ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียนและการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และสอบเป็นทางการ 2 ครั้ง (สอบกลางภาคและสอบปลายภาค) ทำรายงานรายบุคคลและหรือรายงานกลุ่มเพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การทำรายงานกรณีศึกษาและนำเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) เน้นการทำงานเป็นทีม โดยมีการทำงานเป็นกลุ่มรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งจะต้องช่วยเหลือแบ่งงานย่อยโดยมอบหมายให้ช่วยกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อใช้เขียนรายงานและเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา กรณีศึกษาในชั้นเรียน 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) 2.การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 3. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study) 4.การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) 5. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) 6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 7. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 8. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) 9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 10. การสอนแบบสัมมนา สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด อภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง การสังเกต การสัมภาษณ์ การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ การประเมินจากการแสดงออกอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การอภิปรายร่วมกัน และประเมินผลงานจากรายงาน (Term paper) ของนักศึกษาทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การใช้สื่อแบบ E-learning การรับหรือส่งข้อมูลสื่อสารทาง Email การนำเสนอข้อมูลของงานที่มอบหมายให้เข้าใจง่าย ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการทำงาน การใช้ Power point ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่มรวมทั้งการนำเสนอโครงการที่เสร็จสิ้น 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา   การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลรวมทั้งการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การนำเสนอโดยใช้ PowerPoint ประกอบการสอนในชั้นเรียน การเลือกวิธีการนำเสนอที่เข้าใจง่าย อย่างเป็นระบบ เชิญผู้เชี่ยวชาญในสาขามาบรรยายพิเศษ
การสังเกต การสัมภาษณ์ การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง การสังเกต แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันท์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BSCAG157 ไม้ผลเศรษฐกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม จิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-17 5%
2 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 ความรู้ การทดสอบย่อย 2 ครั้ง 4,13 5%
4 ความรู้ การสอบกลางภาค 9 30%
5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 ความรู้ การสอบปลายภาค 18 30 %
กวิศร์ วานิชกุล. 2546. การจัดทรงต้นและการตัดแต่งไม้ผล. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 213 น. เกศิณี ระมิงค์วงศ์. 2528. การจัดจำแนกไม้ผล. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. เชียงใหม่. 289 น. คณาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2541. เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตร การสร้างสวนไม้ผล.จัดโดย ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ ร่วมกับ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. 299 น. คณาจารย์ภาควิชาพฤกษศาสตร์. 2541. ปฏิบัติการพฤกษศาสตร์ทั่วไป. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ชิติ ศรีตนทิพย์ สันติ ช่างเจรจา อภินันท์ เมฆบังวันและสัญชัย พันธโชติ. 2547. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง หลักและวิธีการการขยายพันธุ์ไม้ผล. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. สำนักพิมพ์โปร-ฟรีแลนซ์. ลำปาง. 30 หน้า เปรมปรี ณ สงขลา. 2544. คู่มือการสวนส้มอย่างมืออาชีพ. หจก. มิตรเกษตรการตลาดและโฆษณา.กรุงเทพฯ. 374 น. รวี เสรฐภักดี. 2542. ส่วนต่างๆ และการจำแนกประเภทของส้ม. ใน วิทยาการส้ม : ทางเลือกปัจจุบันสู่อนาคต. สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. รวี เสรฐภักดี. 2528. การสร้างสวนไม้ผล. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 120 น. วิจิตร วังใน. 2526. ชนิดและพันธุ์ไม้ผลในเมืองไทย. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 102 น. ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันวิจัยพืชสวน 2541. พืชสวนพันธุ์ดีและเทคโนโลยีที่เหมาะสม. เอกสารทางวิชาการ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฝ่ายนิทรรศการและประกวด. 2512. หลักเกณฑ์การตัดสินการประกวดผลไม้. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรุงเทพฯ ศูนย์บรรจุหีบห่อไทย. 2531. หีบห่อมาตรฐานเพื่อการส่งออกผักผลไม้ไทย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ สถาบันพืชอินทรีย์. 2543. มาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ของประเทศไทย. กรมวิชาการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ 28น. สำนักงานวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1. 2542. การพัฒนาสวนส้มสู่ ค.ศ. 2000. รายงานการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Alvim, P. de T. and T. T. Kozloski. 1977. Ecophysiology of Tropical crops. Academic Press. London. UK. Blanke, M. and Pohlan. J. 2000. 2nd ISHS Conference on fruit production in tropic and subtropic. Acta. Hortic. 531 Dawson, P. 1994. Handbook of horticultural students. RPM Reprographics Ltd, Chichester, West Sussex, Uk. Drew, R. 2002. International symposium on tropical and subtropical fruits. Acta Hortic. 575 Halevy, A.H. (ed.) 1986 Handbook of Flowering, Vol. 5. CRC Press, Boca Raton, Florida, USA Jackson, D.I. and N.E. Looney. 1999. Temperate and subtropical fruit production. CAB International, Wallingford, UK. Monselise, S.P. and Goldschmidt, E.E. 1982. Alternate bearing in fruit trees. Hort. Rev. 4, 128 – 173. Morton, J. F. 1987. Fruit of warm climates. ISBN. 0-9610184-1-0 Miami, Florida, USA. Nagy, S. and P. E. Shaw. 1980. Tropical and subtropical fruits: Composition, properties and uses. AVI Publishing, Westport, Connecticut, USA. Nakasone, H. Y. and R. E. Paull. 1998. Tropical fruits. CAB International, Willingford, UK. Page, P. E. 1984. Tropical tree crops for Australia. Queensland Dept. Prim. Industries, Brisbane, Australia Piper, J.M. 1989. Fruits of South-East Asia: Facts and Folklore. Oxford Univ. Press, Oxford. UK. Ploetz, R. C., Zentmyer, G. A., Nishijima, W.T., Rohrbach, K. G. and H. D. Ohr. 1994. Compendium of tropical fruit diseases. The American Phytopathological Society Press, St. Paul, Minesota, USA. Rom, R. C. and R. F. Carlson. 1987. Rootstocks for fruit crops. John Wiley and Sons, New York, USA. Schaffer, B. Anderson, P.C. and Ploetz, R.C. 1992. Responses of fruit crops to Flooding. Hort. Rev. 12, 257 – 313. Schaffer, B. and Anderson, P.C. (eds.) 1994. Handbook of environmental physiology of fruit crops, Vol. II., Subtropical and tropical crops. CRC Press, Boca Raton, Florida, USA. Subhadrabandhu, S. (eds.) 1992. Frontier in tropical fruit research. Acta Hortic. 321. Verheij, E.W.M. and Coronel, R.E. (eds.) 1991. Plant Resources of South-East Asia, No.2. Edible Fruits and Nuts. Pudoc, Wageningen, The Netherlands. Wier, R.G. and Cresswell, G.C. 1995. Plant nutrient disorders 2. Tropical fruit and nut crops. Inkata Press, Melbourne, Australia. Yaacob, O. and Subhadrabandhu, S. 1995. The production of economic fruits in South-East Asia. Oxford University Press, Kuala Lampur, Malaysia.
ศูนย์บรรจุหีบห่อไทย. 2531. หีบห่อมาตรฐานเพื่อการส่งออกผักผลไม้ไทย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ สถาบันพืชอินทรีย์. 2543. มาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ของประเทศไทย. กรมวิชาการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ 28น. สำนักงานวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1. 2542. การพัฒนาสวนส้มสู่ ค.ศ. 2000. รายงานการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Alvim, P. de T. and T. T. Kozloski. 1977. Ecophysiology of Tropical crops. Academic Press. London. UK. Blanke, M. and Pohlan. J. 2000. 2nd ISHS Conference on fruit production in tropic and subtropic. Acta. Hortic. 531 Dawson, P. 1994. Handbook of horticultural students. RPM Reprographics Ltd, Chichester, West Sussex, Uk. Drew, R. 2002. International symposium on tropical and subtropical fruits. Acta Hortic. 575 Halevy, A.H. (ed.) 1986 Handbook of Flowering, Vol. 5. CRC Press, Boca Raton, Florida, USA Jackson, D.I. and N.E. Looney. 1999. Temperate and subtropical fruit production. CAB International, Wallingford, UK. Monselise, S.P. and Goldschmidt, E.E. 1982. Alternate bearing in fruit trees. Hort. Rev. 4, 128 – 173. Morton, J. F. 1987. Fruit of warm climates. ISBN. 0-9610184-1-0 Miami, Florida, USA. Nagy, S. and P. E. Shaw. 1980. Tropical and subtropical fruits: Composition, properties and uses. AVI Publishing, Westport, Connecticut, USA. Nakasone, H. Y. and R. E. Paull. 1998. Tropical fruits. CAB International, Willingford, UK. Page, P. E. 1984. Tropical tree crops for Australia. Queensland Dept. Prim. Industries, Brisbane, Australia Piper, J.M. 1989. Fruits of South-East Asia: Facts and Folklore. Oxford Univ. Press, Oxford. UK. Ploetz, R. C., Zentmyer, G. A., Nishijima, W.T., Rohrbach, K. G. and H. D. Ohr. 1994. Compendium of tropical fruit diseases. The American Phytopathological Society Press, St. Paul, Minesota, USA. Rom, R. C. and R. F. Carlson. 1987. Rootstocks for fruit crops. John Wiley and Sons, New York, USA. Schaffer, B. Anderson, P.C. and Ploetz, R.C. 1992. Responses of fruit crops to Flooding. Hort. Rev. 12, 257 – 313. Schaffer, B. and Anderson, P.C. (eds.) 1994. Handbook of environmental physiology of fruit crops, Vol. II., Subtropical and tropical crops. CRC Press, Boca Raton, Florida, USA. Subhadrabandhu, S. (eds.) 1992. Frontier in tropical fruit research. Acta Hortic. 321. Verheij, E.W.M. and Coronel, R.E. (eds.) 1991. Plant Resources of South-East Asia, No.2. Edible Fruits and Nuts. Pudoc, Wageningen, The Netherlands. Wier, R.G. and Cresswell, G.C. 1995. Plant nutrient disorders 2. Tropical fruit and nut crops. Inkata Press, Melbourne, Australia. Yaacob, O. and Subhadrabandhu, S. 1995. The production of economic fruits in South-East Asia. Oxford University Press, Kuala Lampur, Malaysia.   และหนังสืออื่น ๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการผลิตไม้ผล
รายงานวิจัยเกี่ยวกับพืชสวน หรือไม้ผล บทความเกี่ยวกับสรีรวิทยาการผลิตไม้ผล จากเวบไซต์ต่างๆ และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
ให้นักศึกษาทุกคนทำการประเมินการสอนของอาจารย์ผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
จากการเปรียบเทียบผลการทดสอบตามบทเรียนออนไลน์ ก่อนและหลังจากอ่านบทเรียนครบทุกส่วนแล้ว
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนกลยุทธ์การสอนทุกภาคการศึกษา มีการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนใหม่ๆทุกปี อาจารย์ประชุมหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติการ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป