ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 2

Practical Skills in Plant Science 2

1.1  ฝึกทักษะพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืช
1.2  มีทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานทางการผลิตพืช
1.3  มีทักษะในการเตรียมดิน การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การปลูก การดูแลรักษา และเก็บเกี่ยวผลผลิต
1.4  มีปฏิสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางพืชศาสตร์ ให้นักศึกษามีความรู้ เกิดทักษะในการปฏิบัติงาน สามารถเป็นเกษตรนักปฏิบัติที่มีศักยภาพ
ฝึกทักษะวิชาชีพทางพืชศาสตร์เพื่อสร้างความชำนาญในการผลิตพืชอย่างเป็ฯระบบ โดยเพิ่มพื้นความรู้ในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เพื่อการผลิตพืช การวางผังปลูก การรู้จักชนิดพืช การเตรียมพื้นที่ปลูก การปลูกการดูแลรักษา และกสนเก็บเกี่ยวผลผลิต
60 ชั่วโมง
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-มีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม  จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
-กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
-ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
- ร้อยละ 80 ของนักศึกษา เข้าปฏิบัติงานตรงเวลา
- ร้อยละ 85 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้ฝึกกำหนด
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- ฝึกปฏิบัติในโรงเรือนและในแปลงปลูก
- นักศึกษาบันทึกขั้นตอนการปฏิบัติงาน  ผลจากการปฏิบัติงาน ตลอดจนอุปสรรคปัญหาที่เกิด
- ประเมินจากาการผลการปฏิบัติงาน และจากการบันทึกการปฏิบัติงาน
3.3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- มอบหมายงานที่มีการใช้ทักษะทางการเกษตรและพื้นฐานทางพืชศาสตร์มาบูรณาการใช้ในการ
- ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน และการมีทักษะในการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมต่องานการผลิตพืชแต่ละชนิด
4.4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- ให้นักศึกษาปฏิบัติงานกลุ่ม
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม
- สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษา
5.5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
5.5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายงานผลการฝึกทักษะ โดยให้มีการวิเคราะห์ในการนำความรู้ไปใช้ในการเรียนวิชาชีพทางพืชศาสตร์ต่อไป
- ประเมินผลจากรายงานผลการปฏิบัติงาน
6.6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
-   การสอนฝึกปฏิบัติการ
ผลจากการปฏิบัติจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช่เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 2 1 2 2 1
1 BSCAG102 ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สร้างกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน 1-17 30%
2 มีความเข้าใจหลักการปฏิบัติงานเกษตรในฟาร์ม 1-17 10%
3 สามารถปฏิบัติงานเกษตรตามหลักการและกระบวนการ 1-17 50%
4 การรายงานผลปฏิบัติงาน 1-17 10%
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชสวนประดับ-ไม้ดอก พืชผัก ไม้ผล  พืชไร่ การผลิตเห็ด การผลิตพืชในโรงเรือน และที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชทั่วไป
ไม่มี
ไม่มี
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยภาควิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดย อาจารย์ในภาควิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนิสิตและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนิสิต ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุป วางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป