คลังข้อมูลและเหมืองข้อมูล

Data Warehouse and Data Mining

          1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยของมนุษย์และการออกแบบอินเตอร์เฟส ที่เกี่ยวข้องกับศักยภาพของทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์
          2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการให้ความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
          3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบการปฏิสัมพนัธ์ และหลักการออกแบบที่มองเห็นได้
          4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบ แบบจำลองการอินเตอร์เฟสสำหรับผู้ใช้ และเครื่องมือที่นำมาพัฒนาได้
          5. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยที่มีต่อมนุษย์ และวางแผนในการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมได้
          6. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มาปฏิบัติ และใช้เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดผลกระทบ ปรากฏออกมาในเชิงบวกได้
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบมาตรฐานหลักสูตรระบบสารสนเทศทางธุรกิจ โดยมีการปรับปรุงให้ทันสมัยเหมาะสมกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางด้านการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ ได้อย่างเหมาะสม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานเหมืองข้อมูล นิยามเหมืองข้อมูลการเชื่อมโยงระหว่างคลังข้อมูลกับเหมืองข้อมูล การนำเหมืองข้อมูลมาใช้ในงานธุรกิจ กรรมวิธีเหมืองข้อมูล เทคนิค และเครื่องมือของเหมืองข้อมูล อัลกอริทึม และการประยุกต์ใช้งานระบบเหมืองข้อมูลที่ใช้ในปัจจุบัน ตัวอย่างกรณีศึกษาการใช้เหมืองข้อมูล
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ และ ให้นักศึกษาถามตอบข้อสงสัยได้ตลอดเวลาผ่าน สื่อสังคมออนไลน์ Facebook Messenger หากผู้สอนไม่ได้ตอบกลับโดยทันที จะมีการตอบกลับภายหลังตามความเหมาะสมอีกทั้งนักศึกษาสามารถ นัดเวลาเข้าพบได้ตามความต้องการเฉพาะราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
เอกสารประการสอนวิชาคลังข้อมูลและเหมืองข้อมูล
Microsoft SQL Server (BI)
Rapid Miner
http://banbung.informatics.buu.ac.th/~komate/ http://home.kku.ac.th/wichuda/K_DataWare.html http://www.cs.sfu.ca/~han/dmbook http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~skrung/csc662/ http://wdn.ipublishcentral.net/mcgraw_hill/viewinside/24049292742206 http://msftdbprodsamples.codeplex.com/releases/view/93587 http://www.youtube.com/watch?v=JPLHC00kRug http://www.codeproject.com/Articles/155829/SQL-Server-Integration-Services-SSIS-Part-1- https://sites.google.com/site/veeraboonjing/teaching-1/intelligent-information-system
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับปัญญาประดิษฐ์
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
- สังเกตการณ์สอน
- ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4